logo
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ
logo
  • Home
  • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 4

เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 4

  • Share
  • Tweet
  • Share
  • Email
Created
Friday, 16 May 2014

หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล

ผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 4

 

ชื่อ –สกุล

หัวข้อ

 

1. นางสาวกนกนภัส บุญแนบ

 

ผู้สื่อข่าวที่มีทักษะหลากหลายในยุคดิจิทัล

Multi Skilled Journalist

2. อาจารย์การดา ร่วมพุ่ม

 

หนังสือพิมพ์กับการรายงานข่าวสิทธิเด็ก

3. นางกุลวดี นิ่มนวล

 

การสะท้อนภาพลักษณ์ของสื่อมวลชนที่มีต่อบริษัท เจียไต๋ จำกัด

4. นายไกรลาศ ปสุวัฒนกุล

 

การศึกษารูปแบบการดำเนินธุรกิจหนังสือ Free copy ในจังหวัดเชียงใหม่

5. นายเจริญชัย ช่วยชู

 

การนำเสนอของผู้สื่อข่าวประจำจังหวัดกับการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง

6. นางสาวฉัตรรพี

เกษมสันต์ ณ อยุธยา

 

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคัดเลือกข่าวสารเพื่อลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ : ศึกษากรณีโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้วยหนังสือของมูลนิธิเอสซีจี

7. นางฉัตราภรณ์  ชาญเชาว์

 

การประเมินภาพลักษณ์ ปตท. ผ่านการนำเสนอข่าวของสื่อสิ่งพิมพ์

8. นายเฉลิมวุฒิ สฤษดิกุล

 

แนวคิดในการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทย กรณีเหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ กับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค

9. นางสาวชนิดา สระแก้ว

 

อิทธิพลของหนังสือพิมพ์ต่อปัญหาความรุนแรงใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้

10. พ.ต.อ.ชวลิต เลิศศักดิ์วิมาน

 

โฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติในมุมมองของสื่อมวลชน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

11. อาจารย์ชินกฤต อุดมลาภไพศาล

 

ระดับการรับรู้และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษานิเทศศาสตร์ ม.เนชั่น

12. นายฐิติชัย อัฏฏะวัชระ

 

การใช้สื่อเฟซบุ๊กของกองบรรณาธิการข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรณีศึกษาเครือเอเอสทีวีผู้จัดการ เครือเดอะเนชั่น

และไทยรัฐออนไลน์

13. นายณรงค์ ภัยกำจัด

 

ทางเลือกทางรอดของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น

(จ.พิษณุโลก) ในยุค Social Media

14. นางสาวณัฐพัชญ์ ทีฆโชติคุณานนท์

บทบาทสหภาพแรงงานกลางสื่อมวลชน

ต่อความคาดหวังของนักข่าว

15. นางสาวดวงนภารัตน์ ศรีสุข

 

การใช้สื่อในลักษณะ 360 องศา เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ

16. ดร.ทรงยศ บัวเผื่อน

 

การปรับตัวของผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ในยุคการผนวกรวมเทคโนโลยีการสื่อสาร

17. นายทวีชัย แสงวิรุณ

 

การนำเสนอข่าวคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในหนังสือพิมพ์ที่ไทย

กรณีศึกษาการนำเสนอข่าวในปี 2554

18. นางสาวธนวรรณ วินัยเสถียร

 

อิทธิพลการนำเสนอข่าวสารผ่าน

ดิจิตอลมีเดีย เพื่อสร้างโอกาสท่องเที่ยวไทย

19. นางสาวนงเยาว์ ดำจำนง

บทบาท m-Rescuse แอพพลิเคชั่นของกลุ่มอาสาสมัครศูนย์วิทยุร่วมด้วยช่วยกัน

20. นางสาวนัททยา เพ็ชรวัฒนา

 

ความเป็นกลางกับการกล้าชี้นำสังคม : บทบาทที่ท้าทายและเปราะบางสำหรับสื่อมวลชนในวิกฤตการณ์ขัดแย้ง

ทางความคิด

21. นางนันทวัลย์ นุชนนทรี

 

ความคิดเห็นของนักข่าวศาลต่อการให้ความรู้ทางกฎหมายของ

สำนักงานศาลยุติธรรม

22. นางสาวนุชนภางค์ ชูช่วย

 

การใช้โซเชียล มีเดียส์ (Social Medias) เพื่อใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ด้านซีเอสอาร์ (CSR) ของธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

23. นางสาวประคองจิต ไชยชนะ

 

เทคนิคการเจาะข้อเท็จจริงจากการแถลงข่าวด้านเศรษฐกิจ

24. นายประพร ประพรกุล

 

Methods to Attract More Audience to BangkokPost.com

25. ศาสตราจารย์ นพ. ประวิตร

อัศวานนท์

การรับรู้ และ ความเห็นต่อข้อความโฆษณาเวชสำอาง ในสื่อต่างๆในประเทศไทย: การศึกษาเปรียบเทียบ ประชาชน กับ แพทย์ผิวหนัง

26. นายพงศ์ธร จันทรัศมี

บทบาทของสื่อมวลชนในการสร้างการเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

กรณีศึกษา นโยบายสาธารณะเพื่อป้องกันเด็กและเยาวชนจากการพนัน

27. นางพรศรี ฤทธิจันทร์

การนำเสนอข่าวความรุนแรงต่อผู้หญิงของสื่อมวลชนในปัจจุบัน

28. นางเพ็ญสิน สงเนียม

 

ศึกษาเปรียบเทียบการเลือกประเด็นข่าวในรายการข่าวต้นชั่วโมงของสถานีวิทยุกระจายเสียงของรัฐ และระบบสัมปทาน

29. นางสาวมัชรี ศรีหาวงศ์

 

ผลกระทบของสื่อโทรทัศน์ในการใช้แหล่งข่าวออนไลน์ในการเผยแพร่คลิปภาพความรุนแรง

30. ดร.มาริษา สุจิตวนิช

 

ความร่วมมือทางวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ในกลุ่มอาเซียน ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมและมหาวิทยาลัย Utara มาเลเซีย

31. นายรณัชย์ แสงสิงคี

 

ทัศนคติของสื่อมวลชนสายพลังงาน

ต่อมาตรการส่งเสริมการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์

32. นายวรรณชัย แก้วมณี

 

การศึกษาความพึงพอใจในการรับชมรายการโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิกของ CTH

33. นางวันวิศาข์ ภาคสุวรรณ์

 

การให้บริการข้อมูลข่าวสารการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่แก่สื่อมวลชนของกรมประชาสัมพันธ์

34. นางสาววัลภา สุขใย

 

การปรับตัวขององค์กรในการใช้โซเชียลมีเดียเพื่อสร้างความผูกพันในแบรนด์กับ ผู้บริโภค

เปรียบเทียบแผนการสื่อสารระหว่างการสื่อสารภาพลักษณ์ องค์กร 2 ปี (2555 และ 2556) ที่มีการนำโซเชียลมีเดียเข้ามาใช้ในระดับที่ต่างกัน

35. นางสาววิไล อักขระสมชีพ

ข่าวความขัดแย้งระหว่างกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) กรณีการแทรกแซงการดำเนินนโยบายการเงิน:

วิเคราะห์ที่มาของปัญหา

36. อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม

การจัดการข้อมูลข่าวจากผู้อ่าน

(User-generated Content) และการนำมาใช้ในกระบวนการรายงานข่าวขององค์กรข่าวไทย

37. ดร.สมพงษ์ สิงห์สมบุญ

 

การศึกษาเปรียบเทียบ จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชนกับจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ

38. นายสมยศ สงวนวงศ์

 

การปรับตัวของหนังสือพิมพ์ ในยุคโลกออนไลน์

39. นางสาวสุขสันต์ เสลานนท์

การสื่อสารการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ : กรณีศึกษาวารสาร SMART

40. นายสุชาติ กุลบุษราคัม

 

ทัศนคติของผู้เข้าอบรม บสก.รุ่น 4 ต่อการรับชมภาพข่าวเดลินิวส์แฟลช หนังสือพิมพ์เดลินิวส์

41. นายสุวิทย์ มิ่งมล

 

อสมท กับการเปลี่ยนแปลงของสัมปทานที่ได้รับผลกระทบจากการเกิดขึ้นของ กสทช. และกฎหมายจัดสรรคลื่นความถี่ อันอาจส่งผลต่อผังและรูปแบบรายการ

42. นางสาวอรนิตย์ เนติธรรมกุล

 

ความเข้าใจของนักข่าวสายโทรคมนาคม ประจำ กสทช. และบรรณาธิการข่าว

ต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่โทรทัศน์ระบบดิจิตอล

43. นายอรรถกร ศิริสุวรรณ

การใช้เครื่องมือวัดและตรวจสอบความพึงพอใจของสาธารณะในสื่อสังคมออนไลน์

44. อาจารย์อัญชนา สุขสมจิตร

 

จริยธรรมผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ในการสร้างความนิยม : กรณีศึกษา รายการไทยแลนด์

ก็อตทาเลนต์

45. นางสาวอัญชลี ศิลปชัย

 

ทัศนคติของผู้บริหารองค์กรสื่อต่อรายการข่าวต่างประเทศภาคค่ำ ททบ.5

46. นางอำมร บรรจง

 

ยุทธศาสตร์การปรับตัวองค์กรสื่อสู่

การหลอมรวมสื่อ (Media Convergence)

กรณีศึกษาสำนักข่าวไทย บมจ.อสมท

47. นายอิสรนันท์ อิทธิสารนัย

 

ปัญหาอุปสรรค์ของสื่อสิ่งพิมพ์ ต่อการเสนอข่าวและการบริหารจัดการ กรณีเกิดภัยพิบัติร้ายแรงในเขตพื้นที่กทม.

48. นางสาวเอกรัตน์ สาธุธรรม

 

ศึกษาความแตกต่าง “คอนเทนท์สื่อ” บนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย

49. นายเอกสุภา วงษ์แก้วจันทร์

 

อิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่อการกำหนดวาระข่าวสารของสื่อมวลชน

หลักสูตรสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)

  • หลักการและเหตุผล
  • คณะกรรมการหลักสูตร
  • รายชื่อผู้อบรม
  • ดาวน์โหลดเอกสาร บสก.
  • ภาพกิจกรรม
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
  • ข่าวสารและการอบรม
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ

ISRA Institute Thai Press Development Foundation
สำนักงาน : เลขที่ 538/1 ถนนสามเสน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
Copyright (C) 2015  www.isra.or.th  All rights reserved.
telephone 0-2241-3905  fax  0-2241-3906

Implemented Website by ColorPack Creations Co., Ltd.
GO TO TOP
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ