logo
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ
logo
  • Home
  • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 3

เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 3

  • Share
  • Tweet
  • Share
  • Email
Created
Monday, 29 October 2012

หัวข้อเอกสารรายงานเฉพาะบุคคล

หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 3


ชื่อ –สกุล หัวข้อ
1. นางสาวกนกนุช  จันทร์ขำ มูลนิธิสืบนาคะเสถียรพฤติกรรมการใช้และความพึงพอใจต่อแฟนเพจ
2. พ.ต.อ. กิตติศักดิ์  ปลาทอง การรายงานข่าวของสื่อโทรทัศน์ : กรณีศึกษา มหาอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
3. นางกุลภัสสรณ์  รัตอาภา

การปรับกระบวนการประชาสัมพันธ์สำนักงานศาลยุติธรรม :

กรณีศึกษาพนักงานต้อนรับประจำศาลอาญา

4. นางสาวคณพร  โพธิจิตสกุล

ประสิทธิภาพการสื่อสารสาธารณะของสำนักงาน ป.ป.ช. :

ด้านการป้องกันการทุจริต

5. นางจรีย์วิบูล  บุญชนะโกศล

การเผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจผู้ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผ่าน Social Media

6. นางสาวจิตติพันธ์  วิศวพิพัฒน์

การนำเสนอข้อมูลทางสถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน ในช่วงวิกฤตการณ์น้ำท่วม ปี 2554

7. นางสาวจิตติมา  ภาณุเตชะ

การศึกษาแนวทางการกำกับดูแลสื่อสารมวลชนว่าด้วยภาพเหมารวมในเรื่องเพศ

(gender stereotype)

8. นายชลวิวัฒน์  โฆษิตชัยวัฒน์ การหลอมรวมสื่อ (Media  Convergence)ของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น
9. นายชาคร  หนูคงใหม่ พฤติกรรมการออมของผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจ

10. นายชิษณุชา  เรืองศิริ

“ไทยพีบีเอส” กับกระบวนการสร้างนักข่าวพลเมือง

11. นางณฐา  จิรอนันตกุล

ศึกษาความต้องการรับข่าวสารประเภทข่าวเศรษฐกิจ - การเมืองผ่าน iPad Application

กรณีศึกษาพนักงานที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการแนะนำการลงทุนให้ลูกค้า

12. นายธิติ  ภัทรยลรดี

การนำเสนอข่าว ก.ล.ต. ของสื่อสายตลาดหุ้น :

บทวิเคราะห์การตัดสินใจของสื่อและข้อเสนอแนะต่อ ก.ล.ต.

13. นางนันทิกาญจน์  สวัสดิ์ภักดี

การรับรู้ของสื่อมวลชนประจำทำเนียบรัฐบาลต่อบทบาทภารกิจของสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

14. นางสาวประนอม  บุญล้ำ

ลอกข่าว: พฤติกรรมสื่อเศรษฐกิจยุคดิจิตอล?
15. นายปรีชา  หยั่งทะเล

การเสนอข่าวเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในหนังสือพิมพ์รายวัน :

กรณีศึกษาหนังสือพิมพ์สยามรัฐ

16. ผศ.ปาจรีย์  อ่อนสอาด

การณรงค์เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย

17. นายพริษฐ์  เอี่ยมพงษ์ไพบูลย์

บทบาทสื่อมวลชนไทยกับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ศึกษากรณีสื่อเครือเนชั่นกรุ๊ป

18. นางสาวพัชรี  เกิดพรม

การศึกษาความอยู่รอดและการปรับตัวของ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นกรณีศึกษา หนังสือพิมพ์ “ส่องใต้”

19. นางสาวภรธน  จันทร์สว่าง

ปัญหาและอุปสรรคของการประชาสัมพันธ์ข่าวด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ

สำนักกิจกรรมสื่อสารองค์กรเครือเจริญโภคภัณฑ์

20. นายมงคล  บางประภา

การส่งเสริมการสื่อข่าวโดยคำนึงถึงหลักการคุ้มครองสิทธิเด็ก

(ศึกษาโครงการในส่วนความร่วมมือระหว่างสถาบันอิศราฯกับองค์กรยูนิเซฟประเทศไทย)

21. นายมาร์ค  เจริญวงศ์

ปัญหาและอุปสรรคการให้ข่าวของหน่วยงานภาครัฐ ;

ศึกษากรณีการให้ข่าวของสำนักงานอัยการสูงสุด

22. นายยุทธศิลป์  พร้อมภูล บทบาทของสื่อมวลชน “ครอบครัวข่าว 3 กับวิกฤตน้ำท่วมปี 54”
23. นายรังสรร  มั่นคง พฤติกรรมการใช้ Facebook ของภาคี สสส. กับงานภาคีสัมพันธ์
24. นายรัชดา  พุ่มสุวรรณ ความรู้ความเข้าใจของสื่อมวลชนต่อธุรกิจประกันชีวิต ในการนำเสนอข่าวสารสู่ประชาชน
25. นางสาวฤดีโดม  วิภาวิน

การเปิดรับชมและความต้องการข่าวสารทางสื่อโทรทัศน์ของประชาชนในช่วงวิกฤติน้ำท่วมใหญ่

ช่วงเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2554

26. นายฤทธิ์  พรายพรรณ ความสัมพันธ์ระหว่างนักจัดอีเวนท์กับนักข่าว ในการกำหนดวาระข่าวสาร
27. นายวสุ  ลิมปนุทัย ธันเดอร์ไบก์ (Thunder bike): นวัตกรรมการรายงานสดของสื่อวิทยุโทรทัศน์
28. นายวัชระศักดิ์  วิจิตรจันทร์ ข่าวสาร ข้อมูลและการเตรียมความพร้อม ในช่วงเหตุการณ์อุทกภัย
29. นางสาววาสนา  กลั่นประเสริฐ

รูปแบบการพัฒนาการแทรกแซง - แทรกซื้อสื่อ

กรณีศึกษารัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

30. นายวิเชิญ  แป้นแก้ว

บทบาทของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กับการนำเสนอข่าวภัยพิบัติในสภาวะวิกฤต
31. นางสาววิยะดา เกรียงไกรเพ็ชร์ โฆษณาแฝงในระบบเคเบิลทีวีและทีวีดาวเทียม กรณีศึกษาการกำกับดูแลเชิงกฎหมายและจริยธรรม
32. ดร.ศรัณย์ธร  ศศิธนากรแก้ว พฤติกรรมการอ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์ และการยอมรับของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

33. นางสาวศศิธร  กุวังคดิลก

สำนักข่าวไทยก้าวสู่ประชาคมอาเซียน กรณีศึกษา ASEAN TV
34. นางสาวสมถวิล  เทพสวัสดิ์

ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกข่าวโพล์การเมือง ลงหน้า 1 หนังสือพิมพ์ :

ศึกษากรณี นสพ.เดลินิวส์ และนสพ.คมชัดลึก ระหว่างเดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554

35. นายสมพล  ศรีพวงทอง บทบาทของสื่อท้องถิ่นต่อการเสนอข่าวปัญหาน้ำท่วม กรณีบางระกำโมเดล

36. นายสราวุธ  จิรพิศาลกุล

ปัจจัยสำคัญ อันมีอิทธิพลต่อการนำเสนอข่าวซีเอสอาร์ของสื่อมวลชน
37. นางสาวสิรินุช  อาจแย้มสรวล

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจคัดเลือกเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ของธนาคาร

:ศึกษาความคิดเห็นของหัวหน้าข่าวการเงิน หนังสือพิมพ์รายวัน

38. อาจารย์สุธาวัลย์  ธรรมสังวาลย์

การเปิดรับข่าวสารและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์

ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร

39. นายสุประวัติ  ศริลักษณ์

โฆษณาย่อยกับความอยู่รอดของหนังสือพิมพ์ : กรณีศึกษา หนังสือพิมพ์บ้านเมือง
40. นายสุพนธ์  ธนูกฤติ การเติบโตสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม : กรณีศึกษาสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเนชั่น แชนแนล
41. นายเสถียร  วิริยะพรรณพงศา การปรับตัวของสื่อหนังสือพิมพ์สู่สื่อโทรทัศน์ ศึกษากรณีกรุงเทพธุรกิจทีวี
42. นายอภิศิลป์ ตรุงกานนท์ แนวทางการจัดการชื่อเสียงขององค์กรธุรกิจ เมื่อถูกวิพากษ์วิจารณ์บนสื่อสังคมออนไลน์
43. นางสาวอศินา  พรวศิน “บล็อกเกอร์” เป็น “สื่อ” หรือไม่?
44. นายอัครวิทย์  ระบิน

บทบาทของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในการนำเสนอข่าวสิ่งแวดล้อม

กรณีศึกษาหมอกควันในเขตภาคเหนือตอนบน

45. นายอุลิช  ดิษฐปราณีต ปัญหาการพัฒนาสื่อประเภทหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ในจังหวัดจันทบุรี
46. นางสาวเอมฤดี  ชุ่มใจ

ทัศนคติของสื่อสิ่งพิมพ์ต่อการสื่อสารเสริมสร้าง ภาพลักษณ์ด้าน CSR

กรณีศึกษา : โครงการ SCG รักษ์น้ำ...เพื่ออนาคต

หลักสูตรสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)

  • หลักการและเหตุผล
  • คณะกรรมการหลักสูตร
  • รายชื่อผู้อบรม
  • ดาวน์โหลดเอกสาร บสก.
  • ภาพกิจกรรม
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
  • ข่าวสารและการอบรม
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ

ISRA Institute Thai Press Development Foundation
สำนักงาน : เลขที่ 538/1 ถนนสามเสน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
Copyright (C) 2015  www.isra.or.th  All rights reserved.
telephone 0-2241-3905  fax  0-2241-3906

Implemented Website by ColorPack Creations Co., Ltd.
GO TO TOP
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ