logo
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ
logo
  • Home
  • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 11

หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 11

  • Share
  • Tweet
  • Share
  • Email
Tags
การอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลางด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 11 | สถาบันอิศรา
Created
Tuesday, 20 June 2023

หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล

หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง

ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.)  รุ่นที่ 11

isralogo 280666

ชื่อ – สกุล  หัวข้อ
1. นางสาวกรบงกช ศรีสุพรรณ                                                

การสร้างอัตลักษณ์ของตราสินค้า โออาร์ ให้โดดเด่นและแตกต่างจากตราสินค้า ปตท.

2. นางสาวกรรนิพา ระวิสิทธิ์

ความพึงพอใจและความคาดหวังของสมาชิกเมืองไทย สไมล์คลับ กลุ่มเจเนอเรชัน X ที่มีต่อการสื่อสารการตลาดของ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)   

3. นางกาญธิกา มาเรียน อังคณิต

“ปัจจัยการบริหารงานข่าวของสถานีโทรทัศน์ TNN ช่อง 16”

4. นายกิตตินันท์ นาคทอง

ตัวตนและชื่อเสียงของทนายความบนสื่อสังคมออนไลน์

5. นายขวัญ โม้ชา

การปรับตัวของกองบรรณาธิการข่าวเศรษฐกิจ ประเภทสื่อโทรทัศน์ช่องความละเอียดสูง (High-definition television)

6. นายคมกฤช ลำเจียก

อิทธิพลของ TikTok กับ Marketing Strategy ของการทำเพลง

7. นางสาวจารุรัตน์ มั่นเจริญศิริ

“ความพร้อมของประเทศไทยเกี่ยวกับ ตลาดซื้อขายคาร์บอน และคาร์บอน เครดิต เมกะเทรนด์สำคัญที่ไม่ใช่แค่ลดโลกร้อน”

8. นายจีรภัทร์ ช. พวงน้อย

อิทธิพลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านรายการโฆษณาทางโทรทัศน์

9. นางสาวจีรานุช ช่อเกตุ

บทเรียนการสร้างนักบริบาลชุมชนในโครงการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนอย่าง ยั่งยืน

10. นางสาวชลัญธร ประไพพิพัฒน์                                                                                          

การศึกษาเปรียบเทียบจริยธรรมสื่อมวลชนและมาตรฐานชุมชนเฟซบุ๊กของสื่อ ออนไลน์

11. นางสาวฐิตินันท์ ทองมาเอง

การนำเสนอข่าวกราดยิงของสื่อมวลชนต่อสังคมไทย

12. นางณัฐธิดา พลางกูร

การจัดการข้อมูลข่าวสารและการแพร่กระจายข่าวปลอมและข้อมูลบิดเบือน ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19

13. นางณัฐพร รุจิวรรณ์

การนำเสนอข่าวบันเทิงทางสื่อออนไลน์กับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของ ศิลปินดารา

14. นางสาวณัฏฐ์อาภา ผ่องทิพาภรณ์

ผลกระทบและแนวทางการเยียวยาเมื่อถูกแสดงความคิดเห็นเชิงลบในสื่อ ออนไลน์

15. นายทรงพล สุวรรณพงศ์

เฟกนิวส์ การนำเข้าข้อมูลที่เป็นเท็จ กับความรับผิดตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

16. นายทศพล พูลผล                                                                                                               

พระกฐินพระราชทาน กับการสร้างมวลชนสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กร

   
17. นายธนารักษ์ ทองสะอาด                                                        

บุคคลธรรมดา-บุคคลสาธารณะ โพสต์ภาพเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความรับผิดที่แตกต่าง

18. พ.ต.อ.หญิงนธี หงษ์ษา

การพัฒนาสถานีวิทยุกระจายเสียงตำรวจตระเวนชายแดน

19. นางสาวนภสร ลำธารทอง                                                                                                                                                     

การสื่อสารระหว่างกลุ่มเจนเนอเรชัน X และกลุ่มเจนเนอเรชัน Z เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทำงาน: กรณีศึกษา บริษัทเอเจนซี่โฆษณา

20. นางสาวนันทิยา วรเพชรายุทธ

กรณีศึกษา: บทบาทการรายงานข่าวคริปโทเคอร์เรนซีของสื่อมวลชนไทย

21. นางสาวนารีรัตน์ สิทธิธัญญาศิลป์

เขียนข่าวประชาสัมพันธ์อย่างไรให้สื่อมวลชนเผยแพร่

22. นางสาวเบ็ญจวรรณ จันทโรจวงศ์

การปรับตัวของมีเดียเอเจนซี่ในยุค Digital disruption

23. นายประกานต์ พัฒนสมบูรณ์

การศึกษาปัญหาการเผยแพร่โฆษณาเนื้อหาที่เข้าข่ายอวดอ้างสรรพคุณ ของผลิตภัณฑ์อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ และแนวทางในการสร้าง ความตระหนักรู้ให้กับนักจัดรายการวิทยุท้องถิ่น และผู้ประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง

24. ผศ.ดร.ประกายกาวิล ศรีจินดา

ละครโทรทัศน์ไทยกับซอฟท์ พาวเวอร์ ทำไมฝันไม่ไกล... หรือไปไม่ถึง?

25. นายประพันธ์ สุรวิศาลกุล

การพัฒนาการผลิตสารคดีในการเป็น Soft Power ไทย เพื่อตอบโจทย์การจำหน่ายในตลาดต่างประเทศ

26. นางสาวผาณิตา วิทยวราวัฒน์

ถอดบทเรียนการสื่อสารของธนาคารแห่งประเทศไทยในภาวะวิกฤติ

27. นางสาวพรภัสสร สุขะวัฒนะ

ทัศนคติและการรับรู้ของประชาชน เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคู่ชีวิต ฯ ในสังคมไทย

28. นายพศุตม์ เกิดแก้ว

การรับรู้การสื่อสารด้านความยั่งยืน กับความคาดหวังของผู้บริโภคเจนวาย ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อบทบาทด้านความยั่งยืน ของบริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)

29. นายพันปี โพธิ์วงศ์ไพรเลิศ

“อินฟลูเอนเซอร์” กับการนำเสนอข่าวสารของสื่อมวลชน

30. นางภัทรานิษฐ์ จักรเครือชัยวรา

 การศึกษาผลกระทบจากประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์ว่าด้วยการทดลอง ออกอากาศวิทยุกระจายเสียงในระบบเอฟเอ็มกำลังส่งต่ำ

31. ดร.ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ

ภาพสะท้อนสังคมในสื่อการแสดงของอุดม แต้พาณิช: กรณีศึกษาเดี่ยว 13The Social Reflection of Udom Taepanich’sStand-Up Comedy: Dew 13

   

32. นางสาวมนัญญา ทิพาบุณคเนศ                                                              

การพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์สำหรับแรกวัยของชีวิต

33. นางมยุรี ทั่งกลาง

สภาพการแข่งขันทางการตลาดในธุรกิจเคเบิลทีวีท้องถิ่น

34. นางสาวมาสิรี กล่อมแก้ว

แนวทางการสร้างแบรนด์บุคคลของผู้สร้างคอนเทนต์ ข่าวเศรษฐกิจบนแอปพลิเคชันติ๊กตอก

35. นางสาวยุดากร สุนทรยาตร์                                                                                                                   

การศึกษาเปรียบเทียบ บทบาทการทำหน้าที่ของสื่อในกลุ่มประเทศ CLMV

36. ผศ.ยุทธนา บุญอาชาทอง

การสอนจริยธรรมสื่อสมัยใหม่ในสถาบันอุดมศึกษา

37. นายวงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

การศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการทำข่าวสืบสวนเครือข่ายปฏิบัติการข้อมูล ข่าวสารทางออนไลน์โดยรัฐ ระหว่างสำนักข่าว Rappler ประเทศฟิลิปปินส์ และสำนักข่าว Tempo ประเทศอินโดนีเซีย

38. นายวรพล เพชรสุทธิ์

มุมมองของสื่อมวลชนเกี่ยวกับการพาดหัวข่าว แบบคลิกเบต (clickbait) บนสื่อออนไลน์

39. ดร.วราพรรณ อภิศุภะโชค

ทักษะสำคัญและการป้องกันความเสี่ยงบนออนไลน์ในการประเมินข่าวปลอม สำหรับเยาวชน (The important skills and online risk prevention in fake news evaluation for children)

40. น.อ.นพ.วิทยา จักรเพ็ชร์

การศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารสุขภาพของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการใน โรงพยาบาลทหารอากาศ (สีกัน) กรมแพทย์ทหารอากาศ

41. นางสาวศรมณ เทพแก้ว

แนวทางการพัฒนากลยุทธ์การใช้สื่อโซเชียลมีเดียในกระบวนการนำเสนอข่าว ของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

42. นางสาวศรินทร เลืองวัฒนะวณิช                                                              

การรายงานข่าวที่เกี่ยวข้องกับคดีและผลกระทบต่อมรรยาททนายความ

43. นางสาวศรีอรุณ จังติยานนท์

กลยุทธ์การพาดหัวข่าวออนไลน์

44. นางสาวศศธร คงศิลป์

การสื่อสารเมื่อธุรกิจองค์กรเปลี่ยน กรณีศึกษาธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้าบริษัท อีวี มี พลัส จำกัด

45. นายศิรพงศ์ ขวัญแก้ว

การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล กับการรายงานข่าวของสื่อมวลชน

46. นางสาวศิริพร สุขะปุณณพันธ์

การรับรู้การสื่อสารแบรนด์สินค้าอัปไซคลิง UPTOYOU ในกลุ่มผู้บริโภคเจนเนอเรชัน Y ในเขตกรุงเทพมหานคร

47. นางสาวสิริญญา นิมะกุล

การก้าวข้ามกำแพงเรตติ้งของไทยรัฐทีวี: กรณีศึกษาการนำเสนอข่าวสังหารหมู่ศูนย์เด็กเล็กฯ จ.หนองบัวลำภู

   
48. นางสาวสิริมา ทรงกลิ่น                                                                                      

แนวทางการเพิ่มจำนวนผู้ชมข่าวทางสื่อสังคมออนไลน์ ของสำนักข่าวไทยพีบีเอส

49. นางสาวสุวพีร์ ลือสิริพรกุล

การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ โครงการ Happy Journey with BEM ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า MRT

50. นางสาวอภิวรรณ คงวิริยะวศิน               

ประสิทธิภาพของการสื่อสารแบรนด์ ตามกลยุทธ์ ESG 4 Plus ของเอสซีจีในกลุ่มสื่อมวลชน

51. นายอรรถพล จันทะเลิศ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความนิยมในรายการข่าวภาคเช้าของสถานีโทรทัศน์ระบบ ดิจิตอล

52. นายอาทิตย์ ลมูลปลั่ง

แนวทางการพัฒนาประเด็นการสื่อสารข่าววิทยาศาสตร์ เพื่อเพิ่มการรับรู้แก่สื่อสารมวลชนและประชาชน ผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียของ สวทช.     

53. นายเอกพล บรรลือ

การประเมินความต้องการจำเป็นในการนำเสนอข่าวการเมือง ผ่านเฟซบุ๊กของสำนักข่าว THE STANDARD

หลักสูตรสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)

  • หลักการและเหตุผล
  • คณะกรรมการหลักสูตร
  • รายชื่อผู้อบรม
  • ดาวน์โหลดเอกสาร บสก.
  • ภาพกิจกรรม
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
  • ข่าวสารและการอบรม
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ

ISRA Institute Thai Press Development Foundation
สำนักงาน : เลขที่ 538/1 ถนนสามเสน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
Copyright (C) 2015  www.isra.or.th  All rights reserved.
telephone 0-2241-3905  fax  0-2241-3906

Implemented Website by ColorPack Creations Co., Ltd.
GO TO TOP
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ