logo
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ
logo
  • Home
  • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 9

หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 9

  • Share
  • Tweet
  • Share
  • Email
Tags
การอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนกลางด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ระดับ (บสก.) รุ่นที่ 9 | สถาบันอิศรา
Created
Tuesday, 20 June 2023

หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล

หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง

ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.)  รุ่นที่ 9

isralogo 280666

ชื่อ – สกุล หัวข้อ
1. นางสาวกมลทิพย์ หิรัญประเสริฐสุข                                                                  

การศึกษาการรายงานข่าวการฆ่าตัวตายระหว่างเว็บไซต์ข่าวไทยรัฐออนไลน์ และเว็บไซต์ข่าวสดออนไลน์

2. นางสาวกรกฏ สุนทรวัฒน์

กลยุทธ์การสื่อสารและแผนการรับมือเมื่อเกิดข่าวปลอม (FAKE NEWS) ของ องค์กร กรณีศึกษา บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

3. ดร.กังวาฬ ฟองแก้ว

การนำเสนอภาพลักษณ์ของผู้มีความหลากหลายทางเพศของสื่อด้านข่าวและ ผลกระทบต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศ

4. นางสาวกาลเวลา เสาเรือน

การร้องเรียนด้านสิทธิผู้บริโภคผ่านสื่อออนไลน์ของสถานีโทรทัศน์ช่องเวิร์ค พอยท์

5. นายคงศักดิ์ ชื่นไกรลาศ

สื่อมวลชนกับการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านรถโดยสารสาธารณะปลอดภัย

6. นางสาวจริญญา สุขสนิท

กลยุทธ์การสื่อสารสร้างความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

7. นางสาวจินตนา เกื้อหนุน

การรายงานข่าวของสื่อโทรทัศน์ในภาวะวิกฤต กรณีศึกษาเหตุกราดยิงที่ จังหวัดนครราชสีมา

8. นางสาวจิยากร พนิโคดม

การทำธุรกิจเพื่อสังคม: กรณีศึกษา Café Amazon for Chance

9. นายจิรวัฒน์ วิศิษฐ์ชัยชาญ

การปรับตัวของธุรกิจเคเบิลทีวีไทยภายใต้ยุคโลกป่วน

10. นางสาวชมพูนุช ภัทรขจี

ความจำเป็นและขอบเขตการใช้ Immersive Graphic และ 3D Animation ประกอบการรายงานข่าวโทรทัศน์

11. นายชลธิศ กรดี

การเปิดรับและความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อสื่อเสียงออนไลน์ The Family Podcastของประชากรวัย Sandwich Generation ในเขตกรุงเทพมหานคร

12. นายฐเดช กีรติสันติ

รูปแบบการนำเสนอข่าวทางทีวีบริการสาธารณะเพื่อความมั่นคง (ช่อง 5) กรณีศึกษาการนำเสนอข่าวในช่วงเวลาข่าวภาคดึก

13. นายณัฐวุฒิ กรัณยโสภณ

ศึกษาการปรับตัวของอุตสาหกรรมวิทยุในยุค 4G

14. นางสาวดาริน ลือนาม

ความคิดเห็นและทิศทางการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ที่มีประสิทธิผล ต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์   

15. นางสาวทิพย์ดาราธร ประสาททวีพร  

กลยุทธ์การระดมทุนกับการสื่อสารของสภากาชาดไทย

16. นางสาวธารทิพย์ ศรีสุวรรณเกศ

สื่อกับการผลักดันนโยบาย “การลดขยะอาหารในประเทศไทย”

17. นางสาวธิดารัตน์ ลาภอนันต์ตระกูล

ปัญหาและอุปสรรคในการทำข่าว Data Journalism ของนักข่าวไทย

   
18. นางสาวธีรดา ศรีนวล                                                                                    

การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาทางเพศในรายการวาไรตี้ที่ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ กรณีศึกษารายการ I Can See Your Voice Thailand

19. รศ.นพ.นริศ กิจณรงค์

การศึกษาปัจจัยด้านการสื่อสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนในการป้องกันตนเองต่อการระบาดของไวรัสโควิด – 19

20. นางสาวน้ำผึ้ง กิจนะบำรุงศักดิ์

การสื่อสาร GC Circular Living ผ่าน Social Media ให้มีผลสำเร็จ

21. นางปริศนา หงษ์ไกรเลิศ

บทบาทของสื่อมวลชนต่อการส่งเสริมทักษะทางการเงินของคนไทย

22. นางปวีณศรณ์ เมารีส

การปรับตัวการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ ากัด (มหาชน) ภายใต้ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562

23. นางสาวปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

การเปรียบเทียบและปรับตัวของการเขียนสารคดีเชิงข่าวในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อใหม่

24. นางสาวปาริชาติ เฉลิมศรี

ศึกษาการใช้สื่อโซเชียลเพื่อสื่อสารกับประชาชนของรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

25. นางสาวไผ่แก้ว อินสว่าง

พฤติกรรมการเปิดรับสื่อภายในองค์กรและความคาดหวังที่มีต่อช่องทางการ สื่อสารภายในของพนักงาน บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)

26. พ.ต.ต.หญิง พัชรี ศรีเผือก

มุมมองของสื่อมวลชนต่อการแถลงข่าวของทีมโฆษกสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

27. นางสาวแพรวรำไพ แสงทอง

การจัดการปัญหาของผู้ปกครองต่อการใช้ Youtube ในเด็กเล็ก

28. นายภณ ธัญญ์ธนารัตน์

พฤติกรรมการรับเนื้อหาสื่อออนไลน์จากสมาร์ตโฟน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล จังหวัด ชัยภูมิ        

29. นางสาวภัทรพร เหลืองกาญจนา

ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขในการกำกับดูแลโฆษณาทางสื่อออนไลน์ ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค                    

30. นางสาวภัทราพร ยศวิจิตร

การสื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักเรื่องเศรษฐกิจหมุนเวียน ในกลุ่มพนักงานเอสซีจี

31. นางสาวภัสภา อมตพันธุ์

การศึกษาพฤติกรรมการตอบสนองของผู้บริโภคต่อข่าวผ่านสื่อออนไลน์ เกี่ยวกับคุณค่าอาหารของไส้กรอก

32. นางภานุวรรณ กวียะ

แผนการสื่อสารในภาวะวิกฤต การระบาดของโรคติดต่ออันตราย - โรค COVID - 19 ของธนาคารไทยพาณิชย์ จ ากัด (มหาชน)

   
33. นายมานะ พีรมงคลพิทักษ์                                                                                    

รูปแบบการบริหารและการจัดการวิทยุชุมชน อ าเภอพนัสนิคม อ าเภอเกาะ จันทร์ จังหวัดชลบุรี

34. พ.ต.ท.มาโนช ช่างปรุง

ข่าวปลอมกับผลกระทบที่มีต่อสังคมและกฎหมาย

35. นางสาวเมริกา เหลืองอมรเลิศ          

กฎหมายละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญกับการน าเสนอข่าวของสื่อมวลชน

36. นายยศพร พยุงสุวรรณ

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างแหล่งข่าวกับสื่อมวลชนในยุคดิจิทัล

37. นางสาวรัตนา เตชะเสาวภาคย์

การศึกษาการน าเสนอข่าวอาชญากรรมหน้า 1 และผลกระทบต่อความรุนแรง ในครอบครัว กรณีศึกษาหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ

38. นายวรปัฐ อรุณภักดี

Data Journalism กับการพัฒนารูปแบบการถ่ายทอดฟุตบอลของ สถานีโทรทัศน์

39. นายวรยุทธ พูลสุข

ทิศทางการประชาสัมพันธ์ในยุคดิจิทัลของสภาทนายความ ในพระบรม ราชูปถัมภ์

40. นางสาววริดา โสรัตน์

การศึกษาเนื้อหาออนไลน์ที่ได้รับความนิยมรูปแบบใหม่ของประเทศ สหรัฐอเมริกา: กรณีศึกษาช่อง rSlash (ช่อง Reddit Reading) ในเว็บไซต์ Youtube.com

41. นายวิชัย ถวิลรุ่งเรือง

สภาพธุรกิจเคเบิลทีวีท้องถิ่นและความอยู่รอด

42. นางสาววิภา อดิเรกกิตติคุณ

การวิเคราะห์เนื้อหาภาพยนตร์โฆษณา: เปรียบเทียบช่วงก่อนและหลัง สถานการณ์การระบาดของ Covid 19

43. นายวิศว รุกขชาติ

การรับข้อมูลความรู้ด้านการเกษตรของกลุ่มผู้ฟังของ สถานีวิทยุท้องถิ่น เอส เรดิโอ FM 94.5 MHz อ าเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

44. นายศราวุฒิ นวการพิศุทธิ์

ความสมดุลระหว่างจรรยาบรรณและการจัดอันดับความนิยม (Rating) ของผู้ชมรายการข่าวโทรทัศน์ไทย

45. นางสาวศศิธร อ่องดี

แนวทางการปรับปรุงการใช้ social media เพื่อสื่อสารกับประชาชน ของ ส านักงานคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)

46. นางสาวศิดาพักตร์ ศักดิ์บุญญารัตน์

สื่อออนไลน์กับผลกระทบของการรายงานข่าว

47. ผศ.ดร.สรรพัชญ์ เจียระนานนท์

การพัฒนารายการสนทนาข่าวทางโทรทัศน์เพื่อการน าเสนอข้อเท็จจริงเชิงลึก

48. นางสาวสลิสา ทีฆกุล

การประชาสัมพันธ์ รายการกีฬา ของสถานีโทรทัศน์พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36

49. นางสาวสาวิตรี รินวงษ์

แนวทางการพัฒนาศักยภาพของผู้สื่อข่าว บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จ ากัด (มหาชน) เพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัล กรณีศึกษากองบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ             

   
50. นายสิรวุฒิ รวีไชยวัฒน์                                                                                          การนำเสนอข่าวในภาวะวิกฤตโรคโควิด-19
51. นางสาวสุดารัตน์ ศรีปานะ                   

สื่อกับการรายงานข่าวการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

52. อาจารย์สุธิชา ภิรมย์นุ่ม

สัญญะและการรับรู้สัญญะเชื่อมโยงโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในรายการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาบนทีวีดิจิทัลไทย

53. นางสาวสุพรรษา อ่อนจันทร์

การบริหารจัดการข้อมูลเพื่อสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ สำหรับสื่อของกรมประชาสัมพันธ์

54. นายอนุพนธ์ เตจ๊ะวันโน

วิทยุชุมชนกับการเปลี่ยนผ่านไปสู่การรับส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียง ในระบบดิจิทัล

55. นางสาวอรอนงค์ สิทธิอาภากุล

การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของหนังสือพิมพ์สยามกีฬาในยุคดิจิทัล

56. นายอานนท์ วิเศษ

การศึกษาผลกระทบจากนโยบายและแนวปฏิบัติในการกำกับดูแลเนื้อหา รายการด้านการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านสื่อวิทยุกระจายเสียงโดย กสทช. และหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง  

57. นางสาวอารีรัตน์ สมบูรณ์

พฤติกรรมด้านจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพในการใช้สื่อสังคมออนไลน์

58. นายอำพน เทียนสุวรรณ

จริยธรรมสื่อสังคมออนไลน์ กับบทบาทสื่อมวลชนในการนำเสนอข้อมูล ข่าวสาร

หลักสูตรสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)

  • หลักการและเหตุผล
  • คณะกรรมการหลักสูตร
  • รายชื่อผู้อบรม
  • ดาวน์โหลดเอกสาร บสก.
  • ภาพกิจกรรม
  • เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
  • ข่าวสารและการอบรม
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ

ISRA Institute Thai Press Development Foundation
สำนักงาน : เลขที่ 538/1 ถนนสามเสน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
Copyright (C) 2015  www.isra.or.th  All rights reserved.
telephone 0-2241-3905  fax  0-2241-3906

Implemented Website by ColorPack Creations Co., Ltd.
GO TO TOP
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสถาบัน
    • ความเป็นมา
    • ผลงานที่ผ่านมา
    • โครงสร้างสถาบัน
  • กิจกรรมสถาบัน
    • กิจกรรมในยุคแรก
    • กิจกรรมปี 2549
    • กิจกรรมปี 2550
    • กิจกรรมปี 2551
    • กิจกรรมปี 2552
    • กิจกรรมปี 2553
    • กิจกรรมช่วง 2556 - 2560
    • กิจกรรมปี 2561
    • กิจกรรมปี 2562
    • กิจกรรมปี 2563
    • กิจกรรมปี 2564
    • กิจกรรมปี 2565
    • กิจกรรมปี 2566
    • กิจกรรมปี 2567
  • ข่าวสารและการอบรม
    • หลักสูตรการสื่อสารมวลชนระดับต้น (กสต.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
    • หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
    • หลักสูตรผู้บริหารยุทธศาสตร์การสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บยสส.)
    • หลักสูตรพัฒนาผู้ผลิตรายการสำหรับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (The Producer)
  • ข่าวเผยแพร่
  • คลังรูปภาพ
  • ดาวน์โหลด
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ติดต่อ