- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.) รุ่นที่ 7
เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.) รุ่นที่ 7
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล
หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชน
ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ระดับสูง (บสส.) รุ่นที่ 7
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
1. นายก้องเกียรติ สิริกาญจนาวัฒน์ |
กรอบการนำเสนอข่าวในยุครัฐบาลคสช.ของสถานีโทรทัศน์ TNN 24 |
2. นางสาวกานดา วัฒนายิ่งสมสุข |
การรับรู้สื่อรณรงค์ความปลอดภัยบนท้องถนน กรณีศึกษา “MV แร็พเมาไม่ขับ” ของผู้ใช้รถใช้ถนน |
3. นายเกรียงไกร สิริกาญจนาวัฒน์ |
การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ในรายการคุยข่าวเช้าของ สถานีโทรทัศน์ดิจิทัลช่อง 8 |
4. นางสาวงามตา สืบเชื้อวงค์ |
การนำเสนอข่าวอีอีซีผ่านสื่อเศรษฐกิจ |
5. นางสาวจารุณี บุญนิพัทธ์ |
การนำเสนอข่าวสารด้าน CSR ของบางจาก จาก Mass Media สู่ Social Media (Facebook) |
6. นายจิรยุทธ ปรีชัย |
ความพึงพอใจและความต้องการของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อการรับชมรายการข่าวช่อง NOW 26 |
7. นางจิราภรณ์ มาลากาญจน์ |
การศึกษาแนวทางพัฒนารูปแบบการผลิตและเผยแพร่รายการข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา |
8. รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ |
บทบาทของสื่อมวลชน กับการลดความขัดแย้งระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย |
9. นายชัชวาลย์ ถวิลรุ่งเรือง |
OTT คู่แข่งใหม่ของเคเบิลทีวี |
10. นายไชยฤทธิ์ เสนาะวาที |
‘กองทัพไทย’ กับการปรับตัวงานด้านการสื่อสารองค์กร ในยุคทีวีดิจิทัล (กรณีศึกษา โครงการวันสร้างสุข ทางช่อง one 31) |
11. นางสาวณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรือง |
กระบวนการใช้ “BIG DATA” เพื่อการรายงานข่าวของสำนักข่าวออนไลน์ |
12. นางสาวดิษนีย์ นาคเจริญ |
การปรับตัวของนิตยสาร POSITIONING ปิดสวิทช์ออฟไลน์สู่ออนไลน์ |
13. นายทนงศักดิ์ วัฒนบวรกุล |
การปรับตัวของเนชั่นทีวีในยุคที่คนบริโภคข่าวTVน้อยลง |
14. นายทศพร โสภณเสถียรสุข |
กระบวนการสื่อสารความรู้ความเข้าใจเรื่อง พร้อมเพย์ (PromtPay) ระหว่างภาครัฐสู่ประชาชน ผ่านการใช้สื่อต่าง ๆ |
15. นายทัศไนย ไชยแขวง |
บทบาทสื่อมวลชนกับงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ |
16. นายธณัช ประสานวงษ์ |
ผลกระทบประกาศ คสช. ที่ 76/2559 ต่อการประกอบการวิทยุท้องถิ่นไทย |
18. นางสาวนภา ศรประสิทธิ์ |
กระแสฟินเทคผลกระทบต่อการรายงานข่าว |
19. นางสาวนันทนา แสงมิตร |
กรณีศึกษาการปรับตัวของนักข่าวหนังสือพิมพ์มาทำข่าวโทรทัศน์ในยุคดิจิทัล |
20. นายบุญรอด กระสินธุ์ศรี |
ทิศทางของ PPTV ในการแข่งขันในรายการข่าว |
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
21. นายบุญเลิศ ชัยจิตตนานนท์ |
การทำหน้าที่สื่อสารมวลชนที่มีประสิทธิภาพภายใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานภาครัฐ : ศึกษากรณีสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย |
22. นายปรเมษฐ์ เศรษฐสุวรรณ |
กับดักสภาพคล่องในภูมิทัศน์สื่อ |
23. นายปรีชาพล อินทรโชติ |
การถ่ายภาพข่าวโทรทัศน์ในยุคดิจิทัลกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล |
24. พล.ต.ต.พันธุ์พงษ์ สุขศิริมัช |
แนวทางการพัฒนาสถานีวิทยุกระจายเสียงตำรวจตระเวนชายแดน กรณีศึกษา สถานีวิทยุกระจายเสียงตำรวจตระเวนชายแดน จังหวัดสงขลา |
25. นางสาวพิมพ์ชญา ทิพยธรรมรัตน์ |
รูปแบบรายการข่าวของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง3 เพื่อรองรับยุคโทรทัศน์ดิจิตอล ศึกษากรณี รายการข่าว เรื่องเด่นเย็นนี้ |
26. นายพิษณุชัย ประยูรหาญ |
การวางรันดาวน์ข่าวสำหรับการออกอากาศ : กรณีการแข่งขันของทีวีดิจิทัล |
27. นายไพฑูร ชุติมากรกุล |
อิทธิพลของสื่อสยามสปอร์ต ต่อฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย |
28. นายภานพ ใจเกื้อ |
การใช้สื่อสังคมออนไลน์(Social Media)ของรายการข่าวโทรทัศน์อย่างมีคุณภาพ |
29. ผศ.ดร.มนวิภา วงรุจิระ |
ผู้ตรวจการองค์กรสื่อ: โอกาสและความท้าทายในการกำกับดูแลกันเอง Media Ombudsman: Opportunity and Challenge for Self-regulation |
30. นายมัธยัสถ์ อินมา |
ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นกับการพัฒนาหน้าที่และจรรยาบรรณในยุคทีวีดิจิทัล |
31. นางสาวมาลัย สมานธารณ์ |
กระบวนการดำเนินคดีผู้บริโภคกับบทบาทของศาลยุติธรรม |
32. รศ.เยาวนารถ พันธุ์เพ็ง |
คุณลักษณะนักสื่อสารมวลชนในยุคดิจิทัล |
33. นางรชยา ลังกาทรง |
รูปแบบการดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวีภายใต้การแข่งขันยุคดิจิตอล |
34. นางรมิดา จรินทิพย์พิทักษ์ |
บริการ OTT: ความท้าทายต่อสื่อโทรทัศน์และการกำกับดูแล |
35. นางร้อยแก้ว นิติทัณฑ์ประภาศ |
การเผยแพร่ข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลของธนาคารพัฒนาเอเชียในประเทศไทย |
36. นางเรือนรัตน์ จุลวงศ์ |
การสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมอนุรักษ์คุ้งบางกะเจ้าผ่านโครงการเพื่อสังคมของ บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) |
37. นางสาวลักษณ์สุดา รักษากิจ |
การปรับกลยุทธ์ข่าวกีฬาให้อยู่รอดในยุคดิจิทัล |
38. นายวชิรพล เขมนิพิฐพนธ์ |
พฤติกรรมการเรียกร้องสิทธิ์ของผู้บริโภคผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย ในยุคดิจิตอล กรณีศึกษา บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) |
39. นางสาววารุณี ซื่อสัตย์สกุลชัย |
การวิเคราะห์กรณีศึกษาความต้องการของผู้บริโภค ในการรับชมสื่อสร้างแรงบันดาลใจ |
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
40. นายวิริยา ธรรมเรืองทอง |
การจัดลำดับบริการโทรทัศน์ที่เป็นการทั่วไป ในหมายเลขช่องบริการที่ 1-36 บนโครงข่ายเคเบิลทีวี |
41. อาจารย์วิไลรักษ์ สันติกุล |
การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงวัยในเขตกรุงเทพมหานคร |
42. นายวิเศษ คุณฤทธิพงศ์ |
การสร้างภาพลักษณ์องค์กรภาคประชาสังคม |
43. นายศตวรรษ วงศ์ประทุม |
บทบาทสื่อมวลชนในการรณรงค์ลดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลกรณีศึกษาสื่อมวลชนท้องถิ่น |
44. ดร.ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร |
การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลักดันงานวิจัยของเนคเทคผ่านสื่อออนไลน์ |
45. นายศิวสรร เมฆสัจจากุล |
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดพระเครื่องผ่านสื่อออนไลน์ กรณีศึกษาเว็บไซต์ท่าพระจันทร์ดอทคอม |
46. นางสรวงมณฑ์ สิทธิสมาน |
การละเมิดสิทธิเด็กของสื่อมวลชนต่อการนำเสนอเนื้อหาเชิงตลกขบขันในเด็กปฐมวัย |
47. นางสุพินดา แซ่เตี๋ยว |
พฤติกรรมการบริโภคสื่อของคนพื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ แบ่งตามกลุ่มการตลาดGeneration |
48. นางสาวอณัญญา ตั้งใจตรง |
ยุทธศาสตร์การนำเสนอข่าวสำนักข่าวไทยกับปรากฏการณ์ Facebook Live |
49. นางสาวอรดา เทพยายน |
การต่อต้านถ้อยคำสร้างความเกลียดชังในโลกออนไลน์ |
50. นางสาวอรดา วงศ์อำไพวิทย์ |
จริยธรรมของสื่อบุคคลในการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร |
51. นางสาวอรพิน ศิริจิตเกษม |
บทบาทสื่อมวลชนกับการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ |
52. นางสาวอรภัทร รังษีวงศ์ |
การสื่อสารของเครดิตบูโรในทัศนคติของกลุ่มประชากรตัวอย่างในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
53. นางอรอุมา วัฒนะสุข ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์ |
กรณีศึกษาเกี่ยวกับการปรับตัวของหนังสือพิมพ์ข่าวสดเพื่อความอยู่รอดและความสามารถในการแข่งขันในยุคดิจิทัล |
54. รศ.อังธิดา ลิมป์ปัทมปาณี |
ปัญหา อุปสรรคของการใช้จริยธรรม (Code of Ethics) และจรรยาบรรณวิชาชีพ (Code of Conducts) สื่อมวลชน และทางสร้างสรรค์ความเป็นไปได้ |
55. นางสาวอัญชลี วิสุทธิรัตนกุล |
การสื่อสารเนื้อหาที่ถูกต้องเกี่ยวกับคอเลสเตอรอลและคุณค่าอาหารในไข่ไก่ เป็นปัจจัยให้การบริโภคไข่ไก่ของคนไทยเพิ่มขึ้น |
56. ดร.อำไพ หรคุณารักษ์ |
สื่อสารมวลชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย กรณีการสื่อสารเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ผ่านสื่อโทรทัศน์ |