- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.) รุ่นที่ 2
เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.) รุ่นที่ 2
ดาวน์โหลดเอกสาร
ชื่อ
|
หัวข้อ
|
1. นางกัณฑรัตน์ เจิมจิตรผ่อง |
ทัศนะของสื่อมวลชนและผู้บริหารระดับสูงองค์กรเอกชนต่อการทำงานของนักประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน |
2. น.ส.กุลธิดา สามะพุทธิ |
ถ้อยคำในข่าวแจก (press release): ปฏิบัติการทางภาษาเพื่อสร้างภาพลักษณ์ด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร |
3.นางขวัญเรือน ถาวรทวีวงษ์ |
ศึกษาเปรียบเทียบการจัดผังและกลุ่มรายการของสถานีข่าวโทรทัศน์ดาวเทียมที่ได้รับความนิยมสูงสุด 3 อันดับ คือ ASTV NEWS1, NATION CHANNEL และ TNN 24 |
4.นายคธาทร อัศวจิรัฐติกรณ์ | ปัญหาการลอกข่าวของนักข่าวไทย PROBLEM OF NEWS COPYING AMONG THAI JOURNALISTS. |
5.นางฉวีวรรณ เกียรติโชคชัยกุล | ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมกับการเข้าสู่มาตรฐาน ISO 26000 กรณีศีกษาบริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) |
6.นายเฉลิมชัย ยอดมาลัย | ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ของสื่อมวลชน กรณีศึกษาการลงโทษผู้สื่อข่าวโดยสภาการหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย |
7.นายชัยวัฒน์ วนิชวัฒนะ | อิทธิพลของภาคธุรกิจต่อข่าวเศรษฐกิจในยามวิกฤติเศรษฐกิจ |
8.นายชาย ปถะคามินทร์ | บทบาทของหนังสือพิมพ์ในการช่วยลดอุบัติเหตุทางถนน : ศึกษาช่วงเทศกาลปีใหม่ 2553 |
9.น.ส.ชุติมณฑน์ ศรีขำ | โอกาสทางธุรกิจเอกชนในธุรกิจ อีคอมเมิร์ซ แบบ B2C กรณีศึกษาอีคอมเมิร์ซในธุรกิจไอที |
10. นายชูชัย อักขระ | บทบาทของพนักงานอัยการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค |
11.นายณรงค์ สุทธิรักษ์ | คุณภาพข่าวเศรษฐกิจและข่าวธุรกิจบนสื่อวิทยุ : กรณีศึกษาความต้องการข่าวเศรษฐกิจและข่าวธุรกิจ บนสื่อวิทยุเอฟเอ็ม ในกรุงเทพมหานคร ของผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.) รุ่นที่ 2 |
12.นายดำฤทธิ์ วิริยะกุล | ผลกระทบต่อผู้เสียหาย จากการเสนอข่าวคดีข่มขืนของหนังสือพิมพ์ |
13.น.ท.นพ.ธนาธิป ศุภประดิษฐ์ | การนำเสนอข่าวข้อพิพาททางการแพทย์ของสื่อมวลชน ผลกระทบต่อระบบบริการสุขภาพโดยรวมและผลกระทบต่อการประกอบวิชาชีพเวชกรรมความสัมพันธ์แพทย์-ผู้ป่วย |
14.น.ส.นิตยา สดวัฒนา | ข่าวลือและการแสวงหากำไรจากข่าวลือในตลาดหลักทรัพย์ |
15.นายนิรันดร์ เยาวภาว์ | ปัญหาความเป็นกลางของสื่อในการรายงานข่าวความขัดแย้งทางการเมือง |
16.น.ส.นุสรา คงสุจริต | ทัศนะของผู้อ่านที่มีต่อหน้าบันเทิงในหนังสือพิมพ์รายวัน |
17.นายพงษ์ศักดิ์ พิพิธพงศ์พัฒน์ | การนำเสนอข่าวการเมืองของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น |
18.รศ.ดร.พรจิต สมบัติพานิช | ความคิดเห็นของนักธุรกิจต่างชาติเกี่ยวกับการต่อต้านทางการเมืองในประเทศไทย |
19.นางพรพิมล มฤคทัต |
สื่อมวลชนกับบทบาทการเสนอข่าวสิ่งแวดล้อมกรณีศึกษามาบตาพุด |
20.น.ส.พรรณินี นันทพานิช | การสื่อสารกับสาธารณชนของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ กรณีศึกษา “ราคาไข่ไก่” |
21.ดร.พัชรพิมล สุขสมจิตร ฟอกซ์ | อิทธิพลของสื่อสารมวลชนต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย : กรณีศึกษาเฉพาะมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต |
22.ดร.เพียงเพ็ญ ทุมมานนท์ | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคัดเลือกข่าวสารขององค์การมหาชนเพื่อลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ศึกษาเฉพาะกรณีหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ กับหนังสือพิมพ์มติชน |
23. นายไพฑูรย์ หิรัญประดิษฐ์ | การประเมินประสิทธิภาพ www.prd.go.th ของกรมประชาสัมพันธ์ |
24.นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร | พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของผู้บริโภคชายในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาผู้บริโภคในเขตพญาไท และ เขตปทุมวัน |
25.พล.ต.ต.วรเทพ เมธาวัธน์ | ทัศนคติของนักท่องเที่ยวต่างชาติด้านความปลอดภัยในการเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย |
26.นางวรรณลักษณ์ สุจริต | การปรับตัวของสื่อมวลชนในกระแส Demassificationกรณีศึกษา: เปรียบเทียบเครือเดอะเนชั่นกับบริษัท อสมท จำกัด(มหาชน) Mass Media’s Adaptation toward Demassification A Case Study: Comparison The Nation Group to MCOT Public Company |
27.นายวรสิทธิ์ ปัจฉิมะศิริ | การบริหารจัดการหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น กรณีศึกษา หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น : โคราชรายวัน คนอีสาน |
28.รศ.วันทนีย์ แสนภักดี | การเปรียบเทียบความคิดเห็นของการ์ตูนนิสต์ ในการนำเสนอภาพการ์ตูนล้อการเมือง ในช่วงการบริหารประเทศของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี |
29.นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล | ใบอนุญาตประกอบกิจการเคเบิลทีวี (ชั่วคราว) กับความอยู่รอดของผู้ประกอบกิจการเคเบิลทีวีระดับท้องถิ่น |
30.รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ | มาตรการคุ้มครองผู้บริโภคจากอันตรายของแร่ใยหิน และบทบาทสื่อสารมวลชน Consumer Protection Measures for Asbestos Hazard and Media’s Role |
31.นายวิโรจน์ วัฒนธาดากุล | หน้าที่และบทบาทที่เหมาะสมของสื่อมวลชนในช่วงสังคมเปลี่ยนผ่าน |
32.นายวีระพงษ์ ลิ้มธนสาร | แนวทางการพัฒนาข่าวเคเบิลทีวีให้ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชน อิทธิพลทางสังคม และธุรกิจ |
33.นายสถาพร วิสาพรหม | จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพ์กับความผิดฐานหมิ่นประมาท |
34.นายเสด็จ บุนนาค | การปรับตัวของสื่อสิ่งพิมพ์ กับการรองรับกระแสเทคโนโลยีนิวมีเดีย |
35.น.ส.สมถวิล ลีลาสุวัฒน์ | New Business Model ของหนังสือพิมพ์ในยุคออนไลน์ |
36.นางสาวสรัญญา บุญโสม | การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในจังหวัดสงขลา |
37.นายสืบศักดิ์ ปลื้มจิตต์ | การประกอบวิชาชีพสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อมวลชน กรณีศึกษาความเป็นมาของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ และเส้นทางสู่ความสำเร็จในทางวิชาชีพของหนังสือพิมพ์ “ไทยนิวส์” รายวัน |
38.นางสุดใจ พรหมเกิด |
บทบาท “การตูนการเมือง” ในสถานการณ์ความขัดแย้งของสังคมไทย The Role of "Political Cartoons" During Thailand's Social Conflict |
39.นายสุนทร จันทร์รังสี | การพัฒนาหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นประจำจังหวัดสู่หนังสือพิมพ์ภูมิภาค |
40. นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ | อนาคตสื่อวิทยุและโทรทัศน์ในทศวรรษหน้า |
41.น.ส.สุรณีย์ แสงเพ็ญ |
การเปิดเผยข้อมูลทางราชการกรณีศึกษาเปรียบเทียบไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 Information Disclosure : Comparative Study on H5N1 and H1N1 |
42.นายสุรินทร์ ชัยวีระไทย | กลยุทธ์ความอยู่รอดของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนล่าง |
43.น.ส.สุวรรณา สมบัติรักษาสุข | การสร้างสุขภาวะทางการสื่อสาร (Healthy Communication) ทางวิทยุกระจายเสียง |
44.นายเสริมสุข กษิติประดิษฐ์ | “เสรีภาพสื่อมวลชนและการรับรู้ข่าวสาร” ในรัฐบาล “พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร” |
45.น.ส.แสงเดือน สุวรรณรัศมี | กระบวนการสื่อสารเพื่อรณรงค์ป้องกันหญิงไทยไม่ให้สูบบุหรี่กรณีศึกษาของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่เปรียบเทียบกับการสื่อสารที่ทำให้ผู้หญิงสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้นของอุตสาหกรรมยาสูบ |
46.นายอติ เกียรติ์นีรนาท | ข้อจำกัดในการนำเสนอข่าวสารของสื่อจากมาตรา ๓๒ ตามพ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑: ศึกษาเฉพาะกรณีหนังสือพิมพ์ |
47.น.ส.อนุสรณ์ ไชยพาน |
ขบวนองค์กรพัฒนาเอกชนไทยกับการสร้างพื้นที่ทางสังคม กรณีศึกษา : คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน Thai - Ngo Movement in The National Development : Case Study of Ngo Coordinating Committee on Development |
48.นายอัทซึชิ อิวาซากิ | ความเป็นกลางในการนำเสนอข่าวหนังสือพิมพ์ในประเด็นที่มีความขัดแย้งทางความคิด กรณีศึกษาการนำเสนอข่าวปัญหาการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประสาทเขาพระวิหาร |
49.ผศ.ดร.อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว | ถอดบทเรียนงานวิจัยเรื่องการสื่อสารใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ Lessons Learned from Communication Research in the 3 Southern Border Provinces |
50.นายอารักษ์ โพธิทัต | การจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึง (Universal Services Obligation): กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ (Digital Divide) ในเชิงบริหารจัดการของประเทศไทย |
51.น.ส.อุบลนัดดา สุภาวรรณ | การปรับตัวของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นรายวัน กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ |
ศึกษาช่วงเทศกาลปีใหม่ 2553