- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง (บสส.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสส.) รุ่นที่ 9
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสส.) รุ่นที่ 9
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล
หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูง
ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสส.) รุ่นที่ 9
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
1. นางสาวกนกวรรณ เข็มมาลัย |
การสื่อสารเรื่องออมเพื่อการเกษียณของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย |
2. นางสาวกอบกาญจน์ ตระกูลวารี |
การนำเสนอข่าวการทอดทิ้งเด็กในที่สาธารณะที่มีผลกระทบต่อสังคม |
3. นางสาวกันตา คุณาพัทธ์ |
ปัจจัยในการรับรู้ภาพลักษณ์สถานีโทรทัศน์กองทัพบก (ททบ.5) |
4. นางจิตรา ปิยจารวงษ์ |
แนวทางการปรับตัวของมีเดียเอเจนซี่ในยุคการตลาด 5.0 และเทคโนโลยี 5G |
5. นายจิรโรจน์ จิตราพัฒนานันท์ |
กลยุทธ์ในการนำเสนอรายการสนามข่าว 7 สี |
6. นายจุติ ไกรเลิศ |
วิกฤติ “ลีกฟุตบอลไทย” ใกล้เข้าสู่สภาวะ “ฟองสบู่แตก” ในมุมมองของกูรู กับสื่อมวลชนสายกีฬาฟุตบอล |
7. นายเจษฎา ชำนาญสวน |
การเล่าเรื่องผ่านสื่อดิจิทัลเพื่อสื่อสารเนื้อหา Circular Economy: กรณีศึกษาเปรียบเทียบไทย - สากล |
8. นายสาวช่อผกา วิริยานนท์ |
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบริหารประเทศด้วยเครือข่ายสังคมออนไลน์ของเครือข่ายต้นไม้ในเมือง |
9. นายชัยธัช ตงสาลี |
การรับข่าวสารเรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมการจัดการขยะพลาสติกของคนรุ่น Gen Z |
10. ชัยวัฒน์ บุญชวลิต |
การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะด้านการประชาสัมพันธ์ในยุคดิจิทัล ของบุคลากรหน่วยงานภาครัฐ |
11. นายชาคร หนูคงใหม่ |
พฤติกรรมการเปิดรับและความพึงพอใจต่อรายการเศรษฐกิจทางสถานีข่าว TNN 16 |
12. นายชาญชัย ติกขะปัญโญ |
แนวทางในการนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องของการใช้กัญชาทางสื่อสังคมออนไลน์ |
13. นายชาลี เสียบแหลม |
สื่อออนไลน์กับภาพลักษณ์ของธนาคารพาณิชย์ |
14. นายโชคชัย ทองศักดิ์ |
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการสถานวิทยุกระจายเสียงเพื่อธุรกิจท้องถิ่นไทย |
15. นายณรงค์ ศรีระสันต์ |
กระบวนการทางกฎหมายและขอบเขตการใช้เสรีภาพของสื่อมวลชน:กรณีศึกษาคดีละเมิดอำนาจศาล |
16. นางสาวณัฏฐ์พิชญ์ วงษ์สง่า |
การปรับตัวของบริษัทนำเที่ยวสู่ดิจิทัลแพลตฟอร์ม:กรณีศึกษาโมเดล “โปรไฟไหม้ Unithai” |
17. นายณัฐวัฒน์ โฆษิตชัยวัฒน์ |
บทบาทของสื่อท้องถิ่นในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในเขตอำเภอหัวหิน |
18. นางณิชาดา มงคลเจริญ |
สื่อกับบทบาทสกัดกั้นการแพร่กระจายข้อมูลด้านสุขภาพที่ขาดการกลั่นกรองผ่านสื่อออนไลน์กรณีศึกษา: รายการชัวร์ก่อนแชร์ |
19. นายเดียว วรตั้งตระกูล |
“ทีวีจอเดียว”ความท้าทายของช่องทีวี กับพฤติกรรมผู้ชมในยุคการก่อกวนของนวัตกรรม |
20. ดร.ถิรยุทธ ลิมานนท์ |
การบริหารจัดการกระแสวิจารณ์ทางลบบนสื่อสังคมออนไลน์ขององค์กรขนาดใหญ่: กรณีศึกษา บมจ. ไทยออยล์ ในปี พ.ศ. 2562 |
21. นางสาวธัญพิชชา พึ่งสุจริต |
กลยุทธ์การสื่อสาร และการรับรู้รูปแบบโครงการความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) |
22. นางสาวนันทพร ไวศยะสุวรรณ์ |
แนวทางการจัดการกับเหตุการณ์ดราม่าในโซเซียลมีเดียของกลุ่มนักแสดงไทย ในปี 2562 |
23. นายนิพนธ์ จันทเวช |
ความเหมาะสมของภาพข่าวอาชญากรรมในหนังสือพิมพ์กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง |
24. นายประดิษฐ์ บวรกิติอนันต์ |
รูปแบบการบริหารจัดการวิทยุธุรกิจขนาดเล็กจังหวัดลพบุรีในยุควิกฤตสื่อ |
25. นายประภาส ทองสุข |
Social Media กับการแก้ปัญหาเรื่องการออมของสังคมไทย “กรณีศึกษา คนหนุ่มสาว ที่เพิ่งเข้าสู่วัยทำงาน (First Jobbers)” |
26. นายปราเมศ เหล็กเพ็ชร์ |
การพัฒนาคู่มือการรายงานข่าวในสถานการณ์ความขัดแย้งและภัยพิบัติ (Safety training) สำหรับสื่อมวลชนไทยของสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย |
27. นางปิยดา จงพยุหะ |
กลยุทธ์การสื่อสารงาน Social Enterprise ต่อสังคมภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ: กรณีศึกษาโครงการร้านกาแฟคาเฟ่อเมซอนเพื่อการสร้างโอกาส (Café Amazon for Chance) ของ บริษัท สานพลัง วิสาหกิจเพื่อสังคม จำกัด |
28. นายผาติยุทธ ใจสว่าง |
กระบวนการกำกับโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางในรายการสดทางโทรทัศน์ 9MCOT HD |
29. นายพงษ์พิพัฒน์ จินดาศรี |
"สื่อมวลชนไทยในยุค 5.0" |
30. นายพรชัย พูนล้ำเลิศ |
กระบวนการนำเสนอ “รายการกีฬาข้ามสื่อ” ของสถานีโทรทัศน์พีพีทีวีเอชดี ช่อง 36 |
31. พรอัปสร นิลจินดา |
แนวทางการนำเสนอเนื้อหาผ่านโซเชียลมีเดียของสำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ |
32. ดร.พิชัยวัฒน์ แสงประพาฬ |
การวิพากษ์สังคมผ่านภาพล้อเลียนบนสื่อออนไลน์:กรณีศึกษา “คาราโอเกะชั้นใต้ดิน” |
33. นายพิทักษ์ ศิริบูรณ์ |
กลยุทธ์การสื่อสารปฏิบัติการร่วมลดขยะพลาสติก อันเป็นผลมาจากโครงการ “รักษ์ต้องเลิก” โดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
34. นายภัฎฏิณัฏฐ์ หวังสถิตวงศ์ |
ความคิดเห็นของผู้ชมต่อบุคคลข้ามเพศฐานะพิธีกรกรณีศึกษาช่องไทยรัฐทีวี |
35. นายภาคภูมิ พันธุ์สถิตย์ |
ภาพลักษณ์ผู้ประกาศข่าวในสื่อทีวีไทยยุคดิจิทัล |
36. นางสาวมณีฉาย ไชยนุวัติ |
การสื่อสารปัญหาหนี้ครัวเรือนของธนาคารแห่งประเทศไทย |
37. นายระวี ตะวันธรงค์ |
การพัฒนาวีดีโอในรูปแบบ User Generate Contentและ Content creator เพื่อการสร้างรายได้ |
38. ดร.รักชนกชรินร์ พูลสุวรรณนธี |
รูปแบบรายการโทรทัศน์สำหรับผู้สูงอายุ |
39. นายรัชดา พุ่มสุวรรณ |
การสื่อสารกิจกรรมเพื่อสังคมสร้างภาพลักษณ์องค์กรในกลุ่มวัยเริ่มทำงานกรณีศึกษาเมืองไทยประกันชีวิต |
40. ดร.รัตติมา ศิริโหราชัย |
ภาพลักษณ์ของพยาบาลวิชาชีพในสื่อสังคมออนไลน์ |
41. นางสาววรินทร์ ตริโน |
การปรับตัวของหนังสือพิมพ์ในยุคดิจิทัล กรณีศึกษา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ |
42. นางสาววิชชุดา จิตจันทร์ |
การเขียนหัวข้อข่าวเพื่อเรียกยอดคนติดตามกรณีศึกษาฐานเศรษฐกิจออนไลน์ |
43. นางสาววีรินทร์ อรวัฒนพันธุ์ |
ทิศทางความเหมาะสมของภาษาในรายการสดระหว่างกสทช. และสถานีโทรทัศน์ กรณีศึกษา: “อีบ้า” ของ จีเอ็มเอ็ม แชนแนล |
44. ผศ.ดร.ศรัณย์ธร ศศิธนากรแก้ว |
การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการเสพติดสื่อสังคมออนไลน์และการหลงตัวเองในสื่อสังคมออนไลน์ระหว่างเจเนเรชันเอ็กซ์ (Gen X) และเจเนเรชันซี (Gen Z) |
45. นายศุภชัย พนมหิรัญ |
ทิศทางการออกแบบกราฟิกเพื่อสร้างการรับรู้แบรนด์ของรายการข่าวช่อง 8 ในมุมมองของผู้ชม |
46. นางสาวสกุณา วงค์สวัสดิ์ |
การปรับตัวเคเบิลทีวีท้องถิ่นของ บริษัท เน็ตเวิร์ค เคเบิลทีวี จำกัด ใน ยุค Internet Of Things (IoT) |
47. นายสมบัติ ลีลาพตะ |
ข้อเสนอแนะแนวทางกำกับดูแลเนื้อหาในบริการโอทีที |
48. นายสมยศ เกียรติอร่ามกุล |
ประสิทธิภาพขององค์กรในการควบคุม การนำเสนอเนื้อหาความรุนแรงในสื่อโทรทัศน์ไทย |
49. นางสาวสิริลักษณ์ พัฒนลีลาวงศ์ |
อุดมการณ์วิชาชีพของออนไลน์กรณีเดอะสแตนดาร์ด |
50. ดร.สุนทรา พลไตร |
การนำเสนอข่าวของสื่อสารมวลชนเกี่ยวกับมาตรการทางแพ่งตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 |
51. รศ.ดร.สุปราณี ศิริสวัสดิ์ชัย |
AD. สื่อเสียงบรรยายภาพ: บริการเพื่อการเข้าถึงของคนพิการทางการเห็น |
52. นางสาวสุภิญญา รูปขำดี |
พฤติกรรมการใช้ ความพึงพอใจ และความคาดหวังของพนักงานต่อการสื่อสารภายในองค์กรผ่านแอปพลิเคชัน CPF CONNECT |
53. นายหัสพร ทองแดง |
จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพของสื่อมวลชนยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น |
54. รศ.ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น |
การแสวงหาข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลของ Social Influencers/ Columnists กรณีสงครามการค้าสหรัฐ - จีน |
55. นางสาวอัญชนก แข็งแรง |
การบริหารการผลิตรายการสนทนาข่าวรูปแบบฮาร์ดทอล์ค (Hard Talk) : กรณีศึกษารายการโหนกระแส สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 The Production Management of The News Program Hart Talk Format: Case Study Hone-Krasae Program of CH 3 Thailand. |
56. นางสาวอาภรณ์ ศุภเดโชชัย |
บทบาทการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์การจัดการเลือกตั้งของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง |
57. นางสาวอุษณีย์ ถาวรกาญจน์ |
กลยุทธ์การใช้ผู้ทรงอิทธิพลบนโลกออนไลน์ในการสื่อสารแบรนด์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย |
58. นางสาวอุษา ชีวจำเริญ |
การวิเคราะห์เนื้อหาข่าวสารในหนังสือพิมพ์และสื่อสังคมออนไลน์ กรณีศึกษา: โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า |