- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 7
เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 7
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล
หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 7
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
1.นายกิตติศักดิ์ ศิริคลังเจริญรุ่ง |
หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น กับความอยู่รอดในยุคสื่อสังคมออนไลน์ |
2. นายเกรียงศักดิ์ จุนโนนยางค์ |
การวิเคราะห์ประเด็นเนื้อหา และวิธีการคัดเลือกข่าวต่างประเทศ ที่นำเสนอในหน้า 1 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ |
3. นางสาวเกษศิรินทร์ อภิรัตนวงศ์ |
แนวทางการบริหารประเด็นข้อมูลข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ และการนำไปใช้ของศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าวสาร กรมประชาสัมพันธ์ |
4. นางสาวขวัญแก้ว ลิ่วเฉลิมวงศ์ |
การมีส่วนร่วมและการดำเนินการในกิจกรรมการประหยัดพลังงาน ของพนักงานธนาคารกรุงเทพ |
5. นายจักรพัชร บูรณะบุตร |
รูปแบบของเนื้อหาบนสื่อออนไลน์ (เฟซบุ๊ก) ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าประเภทเครื่องแต่งกายผู้ชาย: กรณีศึกษาแฟนเพจของร้านเสื้อผ้าSelvedgework |
6. นางฉวีวรรณ์ เปยาคม |
ธุรกิจโฆษณากับความอยู่รอดของทีวีดิจิทัล กรณีศึกษาสถานีโทรทัศน์ไบรท์ทีวี |
7. แพทย์หญิงฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์ |
อิทธิพลของสื่อโฆษณาขนมเด็กที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคและความอ้วนของเด็กและเยาวชน |
8. นายเฉลิมศักดิ์ บุญประคอง |
พฤติกรรมการรับชมอ่างทองเคเบิลทีวีในเขตอำเภอเมือง จ.อ่างทอง |
9.นางสาวชฎาพร ชัยขันธ์ |
การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจเคเบิลทีวีในยุคดิจิทัลศึกษาในพื้นที่ จ.สงขลา |
10. นายชลธิศ แก้วประเสริฐสม |
แนวทางการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (Social Impact Assessment: SIA) ในการนำเสนอข่าวของไทยพีบีเอส |
11. นายชัยรัตน์ ราชปักษี |
กระบวนการสื่อสารเพื่อช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ที่ถูกละเมิดสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐาน |
12. นายชินโชติ ปลัดชัย |
พฤติกรรมการเสพสื่อของพนักงานธนาคารออมสิน ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล |
13. นางสาวญาธินี ตันติวิวัฒน์ |
“สื่อสารมวลชน กับการกำหนดนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษารายการ นโยบาย by ประชาชน” |
14. นางสาวณัษฐพร อินทร์คง |
การนำเสนอข่าวการเมืองท้องถิ่นของหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ที่มีผลต่อนโยบายการกระจายอำนาจ |
15. พ.ต.ท. หญิง ดวงสมร โสภณธาดา |
บทบาทสื่อมวลชนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะ: กรณีศึกษา สถานีวิทยุกระจายเสียงพิทักษ์สันติราษฎร์ (สวพ.เอฟ เอ็ม 91) |
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
16. นายธนากร ริตุ |
กลยุทธ์การตลาดของธุรกิจทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา “ชูวิทย์ตีแสกหน้า” |
17. นางสาวธัญญ์นิธิ คำแถม |
บทบาทของสื่อมวลชนต่อการรายงานข่าวการละเมิดสิทธิเด็ก |
18. นางธัญศญา ทองศักดิ์ |
ปัญหาอุปสรรคที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการสถานีวิทยุท้องถิ่นไทย |
19. นายนนทกฤช กลมกล่อม |
บทบาทหน้าที่ของผู้เล่าข่าวโทรทัศน์กับความรับผิดชอบต่อสังคม |
20. นางสาวนนท์สมร ศานติวงศ์สกุล |
ความคาดหวังของผู้ชมที่มีต่อการนำเสนอข่าวอย่างมีจริยธรรมของช่อง true4U |
21. นางสาวนลินทิพย์ เลิศไพบูลย์ |
การบริหารจัดการเฟซบุ๊กทางการเพื่อการประชาสัมพันธ์ ของหน่วยงานรัฐและเอกชน |
22. นางสาวนันท์นิชา จิตต์เอี่ยม |
การศึกษารูปแบบการออกแบบสื่อสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อสื่อกระแสหลักในยุคดิจิทัล กรณีศึกษาเฟซบุ๊กแฟนเพจ เจี๊ยบ เลียบด่วน แหม่ม โพธิ์ดำ และอีจัน |
23. นายนิชธ์นาวิน จุลละพราหมณ์ |
ความคิดเห็นของสื่อมวลชนไทยและเวียดนามที่มีผลต่อการเสนอข่าวสารการลงทุนโครงการระยะยาวของเอสซีจีในประเทศเวียดนาม กรณีศึกษาการลงทุนในโครงการ Long Son Petrochemicals (LSP) ของเอสซีจีในประเทศเวียดนาม |
24. นางสาวบงกช จูฑะเตมีย์ |
การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผลในสังคมสูงอายุ กรณีศึกษา “หนังสือรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ประจำปี” |
25. นายปณภัช วงศ์พรหม |
ปัจจัยการสื่อสารผ่านออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตและสร้างภาพลักษณ์บริษัทประกันชีวิต |
26. นางสาวปรวรรณ ปานปั้น |
บทเรียนการให้ข้อมูลข่าวสารสู่สาธารณะ กรณีศึกษา : ธนาคารแห่งประเทศไทยออกประกาศธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศ |
27. นางสาวปุลญดา บัวคณิศร |
กระบวนการผลิตสื่อเพื่อคนพิการ โอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างเท่าเทียม |
28. นางพรวลัย ประเสริฐวุฒิวัฒนา |
การศึกษารูปแบบการสื่อสารเนื้อหาสารและการตอบสนองบนเครือข่ายออนไลน์ไลน์แอด (Line@) ขององค์กรสุขภาพ กรณีศึกษา ไลน์แอด: โรงพยาบาลศิริราช, กรมสุขภาพจิต (DMH), สภาการพยาบาล |
29. นางสาวพัสวี ฐิติพรวัฒนกุล |
การทำ Engagement บนเฟซบุ๊กของสถานีโทรทัศน์วอยซ์ทีวี พีพีทีวี และเวิร์คพอยท์ทีวี |
30. นางพิมลพรรณ มณีวรรณ |
การบริหารงานเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจเคเบิลทีวีท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี |
31. นายพีรภัทร์ เกื้อวงศ์ |
ทัศนคติของสื่อมวลชนต่อการใช้ยา PrEPและยา PEP ในการแก้ปัญหาผู้ติดเชื้อเอชไอวี |
32. นายภาณุพงศ์ ส่องสว่าง |
การพาดหัวข่าวเกินจริงของสื่อออนไลน์ในยุคปัจจุบัน |
33. นายมารุต เดชติศักดิ์ |
วิธีคิดผู้พิชิตขยะ “TRASH HERO” |
34. นายเมธา สกาวรัตน์ |
การใช้อุปกรณ์ไอทีรายงานข่าวของผู้สื่อข่าว “ฐานเศรษฐกิจ” เพื่อรองรับการไปสู่สื่อมัลติมีเดียครบวงจร |
ชื่อ – สกุล |
หัวข้อ |
35. นายรุ่งศักดิ์ เหลืองหิรัญภูษิต |
การนำเสนอข่าวจากโซเชียลมีเดียในยุคทีวีดิจิทัล |
36. นายฤทธิชัย ชูวงษ์ |
การศึกษาแนวทางการผลิตเนื้อหาข้ามสื่อกรณีศึกษาเวิร์คพอยท์ |
37. นางสาววาสนา วงค์ฉายา |
ข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับสื่อที่เหมาะสมสำหรับเด็กในช่วงอายุ 6-12 ปี |
38. นายวิโรจน์ สุขพิศาล |
ความคาดหวังของผู้บริโภคข่าวสารต่อสื่อใหม่ในภูมิทัศน์สื่อที่เปลี่ยนไป: กรณีศึกษาเว็บไซต์ The101.world |
39. นายวุฒิชัย พุ่มสงวน |
ขอบเขตของการให้สัมภาษณ์ หรือการให้ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย ของพนักงานอัยการ ต่อสื่อมวลชนและข้อเสนอแนะ |
40. นางสาวศรีศศิ ใช้ไหวพริบ |
การศึกษารูปแบบและเนื้อหา และข้อเสนอแนะของประชาชน บน Facebook Fanpage กสทช. ที่มีผลต่อการรับรู้ของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร |
41. นางสาวศิรณัชชา วุฒิประพันธ์พงศ์ |
ทางรอดของธุรกิจโดเมน .TH (ดอททีเอช) |
42. นายศิวพงษ์ จันทเวช |
การกำกับดูแลสื่อมวลชนภายใต้กฎหมายกับการลิดรอนเสรีภาพสื่อมวลชน |
43. นางสาวสมิตา ทวีจันทร์ |
บทบาทผู้ประกาศข่าวต่อความนิยมในการรับชมรายการข่าว |
44. นางสรญา ประทุมวงษ์ |
การสื่อสารเพื่อสร้างภาพลักษณ์ธุรกิจเสริม กรณีศึกษา : ร้านคาเฟ่ อเมซอน |
45. นายสัญญา จีระออน |
ข้อยกเว้นความผิดฐานหมิ่นประมาท : ศึกษากรณีที่เกี่ยวกับสื่อมวลชนเสนอข่าวของบุคคลสาธารณะ |
46. นายสันติวิธี พรหมบุตร |
บทบาทหน้าที่ผู้สื่อข่าวต่อการช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม กรณีศึกษาจากเหตุการณ์สังหาร 8 ศพที่จังหวัดกระบี่ |
47. นายสามารถ โฉมเกิด |
สื่อวิทยุทดลองออกอากาศประเภทธุรกิจกับการอยู่รอดในปัจจุบัน |
48. อาจารย์สุดถนอม รอดสว่าง |
การค้ารายการโทรทัศน์ข้ามชาติในไทย ยุคเทคโนโลยีก่อกวน (Disruptive Technology) |
49. นายสุเมธ โตเกษร |
ปัญหาการเสนอข่าวผิดพลาด : ศึกษากรณีข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลช่อง 8 |
50. นางสุริศา สิทธิวรรณ |
บทบาทของสื่อมวลชนท้องถิ่นกับการส่งเสริมการบริการเพื่อสังคม แอปพลิเคชัน อสม. ออนไลน์ |
51. นางสาวนางสาวสุวินา เอี่ยมสุทธา |
ทิศทางการนำเสนอสารคดีเฉลิมพระเกียรติของสถานีข่าวโทรทัศน์ TNN24 |
52. นางสาวอภิญญา วิภาตะโยธิน |
การปรับตัวของสื่อมวลชนช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไปในยุคดิจิทัล |
53. นายอภิรักษ์ โรจน์อำพร |
รูปแบบการโพสต์คลิปวีดีโอบน Facebook Fanpage ของสื่อมวลชน |
54. นางสาวอาทิตยา บุญอาจ |
แนวทางการนำเสนอเนื้อหาบนมัลติแพลตฟอร์มของ รายการเป็นเรื่องเป็นข่าว สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36 |
56. นางสาวอุษณา ศรีวิชา |
ผู้บริโภคกับการรับข่าวสารด้านความปลอดภัยทางอาหาร (Food Safety) ในสินค้าปศุสัตว์ จากสื่อหนังสือพิมพ์ และโซเชียลมีเดีย |
56. นางเอื้อมพร สิงหกาญจน์ |
การใช้อินโฟกราฟิกเพื่อการสื่อสาร |