- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 4
เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 4
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล
ผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 4
ชื่อ –สกุล |
หัวข้อ
|
1. นางสาวกนกนภัส บุญแนบ
|
ผู้สื่อข่าวที่มีทักษะหลากหลายในยุคดิจิทัล Multi Skilled Journalist |
2. อาจารย์การดา ร่วมพุ่ม
|
หนังสือพิมพ์กับการรายงานข่าวสิทธิเด็ก |
3. นางกุลวดี นิ่มนวล
|
การสะท้อนภาพลักษณ์ของสื่อมวลชนที่มีต่อบริษัท เจียไต๋ จำกัด |
4. นายไกรลาศ ปสุวัฒนกุล
|
การศึกษารูปแบบการดำเนินธุรกิจหนังสือ Free copy ในจังหวัดเชียงใหม่ |
5. นายเจริญชัย ช่วยชู
|
การนำเสนอของผู้สื่อข่าวประจำจังหวัดกับการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง |
6. นางสาวฉัตรรพี เกษมสันต์ ณ อยุธยา
|
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคัดเลือกข่าวสารเพื่อลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ : ศึกษากรณีโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้วยหนังสือของมูลนิธิเอสซีจี |
7. นางฉัตราภรณ์ ชาญเชาว์
|
การประเมินภาพลักษณ์ ปตท. ผ่านการนำเสนอข่าวของสื่อสิ่งพิมพ์ |
8. นายเฉลิมวุฒิ สฤษดิกุล
|
แนวคิดในการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทย กรณีเหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ กับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค |
9. นางสาวชนิดา สระแก้ว
|
อิทธิพลของหนังสือพิมพ์ต่อปัญหาความรุนแรงใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
10. พ.ต.อ.ชวลิต เลิศศักดิ์วิมาน
|
โฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติในมุมมองของสื่อมวลชน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
11. อาจารย์ชินกฤต อุดมลาภไพศาล
|
ระดับการรับรู้และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษานิเทศศาสตร์ ม.เนชั่น |
12. นายฐิติชัย อัฏฏะวัชระ
|
การใช้สื่อเฟซบุ๊กของกองบรรณาธิการข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรณีศึกษาเครือเอเอสทีวีผู้จัดการ เครือเดอะเนชั่น และไทยรัฐออนไลน์ |
13. นายณรงค์ ภัยกำจัด
|
ทางเลือกทางรอดของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น (จ.พิษณุโลก) ในยุค Social Media |
14. นางสาวณัฐพัชญ์ ทีฆโชติคุณานนท์ |
บทบาทสหภาพแรงงานกลางสื่อมวลชน ต่อความคาดหวังของนักข่าว |
15. นางสาวดวงนภารัตน์ ศรีสุข
|
การใช้สื่อในลักษณะ 360 องศา เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ |
16. ดร.ทรงยศ บัวเผื่อน
|
การปรับตัวของผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ในยุคการผนวกรวมเทคโนโลยีการสื่อสาร |
17. นายทวีชัย แสงวิรุณ
|
การนำเสนอข่าวคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในหนังสือพิมพ์ที่ไทย กรณีศึกษาการนำเสนอข่าวในปี 2554 |
18. นางสาวธนวรรณ วินัยเสถียร
|
อิทธิพลการนำเสนอข่าวสารผ่าน ดิจิตอลมีเดีย เพื่อสร้างโอกาสท่องเที่ยวไทย |
19. นางสาวนงเยาว์ ดำจำนง |
บทบาท m-Rescuse แอพพลิเคชั่นของกลุ่มอาสาสมัครศูนย์วิทยุร่วมด้วยช่วยกัน |
20. นางสาวนัททยา เพ็ชรวัฒนา
|
ความเป็นกลางกับการกล้าชี้นำสังคม : บทบาทที่ท้าทายและเปราะบางสำหรับสื่อมวลชนในวิกฤตการณ์ขัดแย้ง ทางความคิด |
21. นางนันทวัลย์ นุชนนทรี
|
ความคิดเห็นของนักข่าวศาลต่อการให้ความรู้ทางกฎหมายของ สำนักงานศาลยุติธรรม |
22. นางสาวนุชนภางค์ ชูช่วย
|
การใช้โซเชียล มีเดียส์ (Social Medias) เพื่อใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ด้านซีเอสอาร์ (CSR) ของธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) |
23. นางสาวประคองจิต ไชยชนะ
|
เทคนิคการเจาะข้อเท็จจริงจากการแถลงข่าวด้านเศรษฐกิจ |
24. นายประพร ประพรกุล
|
Methods to Attract More Audience to BangkokPost.com |
25. ศาสตราจารย์ นพ. ประวิตร อัศวานนท์ |
การรับรู้ และ ความเห็นต่อข้อความโฆษณาเวชสำอาง ในสื่อต่างๆในประเทศไทย: การศึกษาเปรียบเทียบ ประชาชน กับ แพทย์ผิวหนัง |
26. นายพงศ์ธร จันทรัศมี |
บทบาทของสื่อมวลชนในการสร้างการเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ กรณีศึกษา นโยบายสาธารณะเพื่อป้องกันเด็กและเยาวชนจากการพนัน |
27. นางพรศรี ฤทธิจันทร์ |
การนำเสนอข่าวความรุนแรงต่อผู้หญิงของสื่อมวลชนในปัจจุบัน |
28. นางเพ็ญสิน สงเนียม
|
ศึกษาเปรียบเทียบการเลือกประเด็นข่าวในรายการข่าวต้นชั่วโมงของสถานีวิทยุกระจายเสียงของรัฐ และระบบสัมปทาน |
29. นางสาวมัชรี ศรีหาวงศ์
|
ผลกระทบของสื่อโทรทัศน์ในการใช้แหล่งข่าวออนไลน์ในการเผยแพร่คลิปภาพความรุนแรง |
30. ดร.มาริษา สุจิตวนิช
|
ความร่วมมือทางวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ในกลุ่มอาเซียน ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมและมหาวิทยาลัย Utara มาเลเซีย |
31. นายรณัชย์ แสงสิงคี
|
ทัศนคติของสื่อมวลชนสายพลังงาน ต่อมาตรการส่งเสริมการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ |
32. นายวรรณชัย แก้วมณี
|
การศึกษาความพึงพอใจในการรับชมรายการโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิกของ CTH |
33. นางวันวิศาข์ ภาคสุวรรณ์
|
การให้บริการข้อมูลข่าวสารการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่แก่สื่อมวลชนของกรมประชาสัมพันธ์ |
34. นางสาววัลภา สุขใย
|
การปรับตัวขององค์กรในการใช้โซเชียลมีเดียเพื่อสร้างความผูกพันในแบรนด์กับ ผู้บริโภค เปรียบเทียบแผนการสื่อสารระหว่างการสื่อสารภาพลักษณ์ องค์กร 2 ปี (2555 และ 2556) ที่มีการนำโซเชียลมีเดียเข้ามาใช้ในระดับที่ต่างกัน |
35. นางสาววิไล อักขระสมชีพ |
ข่าวความขัดแย้งระหว่างกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) กรณีการแทรกแซงการดำเนินนโยบายการเงิน: วิเคราะห์ที่มาของปัญหา |
36. อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม |
การจัดการข้อมูลข่าวจากผู้อ่าน (User-generated Content) และการนำมาใช้ในกระบวนการรายงานข่าวขององค์กรข่าวไทย |
37. ดร.สมพงษ์ สิงห์สมบุญ
|
การศึกษาเปรียบเทียบ จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชนกับจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ |
38. นายสมยศ สงวนวงศ์
|
การปรับตัวของหนังสือพิมพ์ ในยุคโลกออนไลน์ |
39. นางสาวสุขสันต์ เสลานนท์ |
การสื่อสารการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ : กรณีศึกษาวารสาร SMART |
40. นายสุชาติ กุลบุษราคัม
|
ทัศนคติของผู้เข้าอบรม บสก.รุ่น 4 ต่อการรับชมภาพข่าวเดลินิวส์แฟลช หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ |
41. นายสุวิทย์ มิ่งมล
|
อสมท กับการเปลี่ยนแปลงของสัมปทานที่ได้รับผลกระทบจากการเกิดขึ้นของ กสทช. และกฎหมายจัดสรรคลื่นความถี่ อันอาจส่งผลต่อผังและรูปแบบรายการ |
42. นางสาวอรนิตย์ เนติธรรมกุล
|
ความเข้าใจของนักข่าวสายโทรคมนาคม ประจำ กสทช. และบรรณาธิการข่าว ต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่โทรทัศน์ระบบดิจิตอล |
43. นายอรรถกร ศิริสุวรรณ |
การใช้เครื่องมือวัดและตรวจสอบความพึงพอใจของสาธารณะในสื่อสังคมออนไลน์ |
44. อาจารย์อัญชนา สุขสมจิตร
|
จริยธรรมผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ในการสร้างความนิยม : กรณีศึกษา รายการไทยแลนด์ ก็อตทาเลนต์ |
45. นางสาวอัญชลี ศิลปชัย
|
ทัศนคติของผู้บริหารองค์กรสื่อต่อรายการข่าวต่างประเทศภาคค่ำ ททบ.5 |
46. นางอำมร บรรจง
|
ยุทธศาสตร์การปรับตัวองค์กรสื่อสู่ การหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) กรณีศึกษาสำนักข่าวไทย บมจ.อสมท |
47. นายอิสรนันท์ อิทธิสารนัย
|
ปัญหาอุปสรรค์ของสื่อสิ่งพิมพ์ ต่อการเสนอข่าวและการบริหารจัดการ กรณีเกิดภัยพิบัติร้ายแรงในเขตพื้นที่กทม. |
48. นางสาวเอกรัตน์ สาธุธรรม
|
ศึกษาความแตกต่าง “คอนเทนท์สื่อ” บนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย |
49. นายเอกสุภา วงษ์แก้วจันทร์
|
อิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ต่อการกำหนดวาระข่าวสารของสื่อมวลชน |