- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 2
เอกสารผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 2
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล
ผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 2
ชื่อ - นามสกุล | หัวข้อ |
1. นางสาวกาญจนา บงกชรัตน์ |
Social media สื่อใหม่: ทางเลือกใหม่ของธุรกิจแอลกอฮอล์ |
2. นายเจษฎา แสนอุดมโชค |
วงจรชีวิตของข้อมูลข่าวสารใน Social Media |
3. นางสาวเจียมจิตต์ แซ่อึ่ง |
สำรวจความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับพลัง “เฟซบุ๊ค” กับการปฏิรูปการเมือง |
4. พ.ต.ต.หญิงฉันฉาย รัตนพานิช |
ทัศนะของสื่อมวลชนต่อโครงการฝากบ้านไว้กับตำรวจ |
5. นางสาวชนิญญา สันสมภาค |
แนวโน้มการขยายตัวของสื่อออนไลน์ ที่มีผลต่อการปรับกลยุทธ์การใช้สื่อ ของบริษัทโฆษณา |
6. นางสาวชนิตา งามเหมือน |
การนำเสนออุดมการณ์ทางการเมืองของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี |
7. นางญาณี แววคล้ายหงษ์ |
หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงเพื่อความอยู่รอด |
8. นางสาวณฐอร มหิทธิกุล |
BB เครื่องมือสื่อสารยุคใหม่ |
9. นางสาวณัฐฐา กีนะพันธ์ |
ลักษณะและสาเหตุของการละเมิดสิทธิเด็กในข่าวอาชญากรรม |
10. นางสาวดิศราพร อิศรางกูร ณ อยุธยา |
ความสัมพันธ์ที่เหมาะสมของนักประชาสัมพันธ์กับสื่อมวลชนที่ส่งผลต่อการทำงานด้านสื่อมวลชนสัมพันธ์ |
11. นางสาวดิษนีย์ นาคเจริญ |
การปรับตัวของนักข่าวและองค์กรสื่อในยุคโซเชียลมีเดีย (ทวิตเตอร์ และ News SMS) |
12 นพ.ดุลย์ ดำรงศักดิ์ |
ผลกระทบทางการแพทย์ และสุขภาพจากการรับข้อมูลของสื่อทาง Internet โดยเฉพาะ Social Network : Facebook |
13. ร้อยเอกเดชภพ บุญกระพือ |
“ร้อยใจไทย ใต้ร่มเย็น” การสร้างเสริมสันติสุขใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
14. นายธนะชัย ณ นคร |
กรณีศึกษาสื่อข่าวเศรษฐกิจ (หนังสือพิมพ์) |
15. นายธานี ลิมปนารมณ์ |
กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างแนวร่วมมวลชน กรณีศึกษาการรณรงค์ “ต้านทุนสามานย์” และ “ล้มอำมาตย์” |
16. นายธาม เชื้อสถาปนศิริ |
“twitter journalism: แนวทางวารศาสตร์ยุคสื่อใหม่” |
17. นายนพรุจ ฉลาดแต่ง |
บทบาทการทำงานของกลุ่มเครือข่ายวิทยุสื่อสาร CB 245 อาสาสมัครศูนย์วิทยุประชาชนร่วมด้วยช่วยกัน |
18. นางสาวนวลจันทร์ จินตนาพันธ์ |
ปัญหาการสื่อสารโครงการภาครัฐ กรณีศึกษาโครงการประกันรายได้เกษตรกร |
19. นายนำชัย อู่วานิชย์ |
การปรับตัวสู่สื่อออนไลน์ของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นรายวัน ในจังหวัดเชียงใหม่ |
20. นางสาวน้ำผึ้ง คณาฤทธิ์ |
กระบวนการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องแผนความปรองดองแห่งชาติ ของประชาชนในชุมชนบ่อนไก่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร |
21. นายบวร ชัยวัฒน์ |
การศึกษาพฤติกรรมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร ต่อการบริโภคสื่อบนสังคมออนไลน์ |
22. นางปริศนา ทับดวง |
ความรู้และเทคนิคการรายงานข่าวอย่างปลอดภัยในสถานการณ์การชุมนุม |
23. นางสาวปวีณศรณ์ เย็นยอดวิชัย |
บทบาทสื่อกับการแก้ไขปัญหา 3 จังหวัดชายแดนใต้ |
24. นายปัญญา ดิลกดำรงรัตน์ |
บทบาทและความยากลำบากในการทำงานภาคสนามของสื่อมวลชน ในสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง : ศึกษากรณี ผู้สื่อข่าว-ช่างภาพ ASTV |
25. นางพิกุล จันทวิชญสุทธิ์ |
การนำเสนอภาพข่าวหน้าหนึ่งมีผลกระทบต่อสังคมอย่างไร : กรณีศึกษา หนังสือพิมพ์บ้านเมือง เดือนมิถุนายน 2553 |
26. นางพิริยาพรรณ ไทยสุริโย |
การใช้ Fan Page บน Facebook เพื่องานประชาสัมพันธ์ :ศึกษาเฉพาะกรณีห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย (Usage of Facebook’s Fan Page for Public Relations : Case study in Department Store in Thailand) |
27. นางสาวเพลินฤดี ศรีรัตนตาปี |
ความเป็นกลางของสื่อมวลชนบนความขัดแย้ง |
28. นางสาวภัทรพร บุณยมานนท์ |
พัฒนาการการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในการเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทย เปรียบเทียบกับต่างประเทศ |
29. นางสาวมโนประภา กลัดภิบาล |
ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานสื่อในสถานการณ์การชุมนุม |
30. นางสาวรสวันต์ จันทร์เจนจบ |
ความคาดหวังของผู้สื่อข่าวสายการเงินการธนาคาร ต่อการทำงานของประชาสัมพันธ์ธนาคารกสิกรไทย |
31. ดร.ลักษณา คล้ายแก้ว |
ปัจจัยที่ส่งผลให้วิทยุชุมชนกลายเป็นวิทยุปลุกระดมทางการเมือง |
32. ดร.วรัชญ์ ครุจิต |
ผลกระทบทางวัฒนธรรมจากสื่อ และแนวทางการพัฒนาทักษะความรู้เท่าทันสื่อ |
33. นางสาววริฎฐา แก้วเกตุ |
|
34. นางสาววาริฉัตร ดวงจินดา |
ผลกระทบต่อการนำเสนอข่าวฟุตบอลโลก ปี 2553 กับการเล่นพนันของเยาวชน (The Effect of World Cup News Report Toward Gambling in Thai Youth) |
35. นายวิริยา ธรรมเรืองทอง |
สื่อกับการเสริมสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกต่อผู้สูงอายุไทย |
36. ดร.วิโรจน์ ณ ระนอง |
ความเป็นอิสระของทีวีสาธารณะ และการถ่ายทอดวาทกรรมและปฏิบัติการจิตวิทยาของรัฐ:กรณีศึกษาการชุมชุมทางการเมืองในเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2553 |
37. นายวิษณุพงษ์ หิญชีระนันท์ |
พระเครื่องกับนักการเมืองไทย |
38. อาจารย์สรลักษณ์ พงษ์โพธิ์ |
ภาษาและวิธีการพาดหัวข่าวหน้า 1 ของหนังสือพิมพ์: กรณีเหตุการณ์การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 |
39. ผศ.สุปราณี วัฒนสิน |
บทเพลงในการเคลื่อนไหวทางการเมืองระหว่างปี พ.ศ.2548-2553 ของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ |
40. นางสาวอนงค์กิตติ โอภาสชาติ |
ความพึงพอใจและความคาดหวังของประชาชน ต่อข่าวที่เกี่ยวกับศาลยุติธรรม |
41. นางอริยะ ยงเขตร์กิจ |
การบริหารประเด็นข่าวท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง โดยเปรียบเทียบกรณีศึกษาระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และ สถานีโทรทัศน์ TNN 24 |
42. นางสาวอัจฉรา อัชฌายกชาติ |
เราจะจัดการกับอดีตความขัดแย้งทางการเมืองที่ขมขื่นอย่างไร: กรณีศึกษาบทเรียนจากต่างประเทศ |
43. นายอัมพร สิทธิผา |
กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น:ความเข้าใจและการเสนอข่าวของสื่อมวลชน |
44. นางอุมาพร แพรประเสริฐ |
สืบจาก NET ร่องรอยที่ต้องค้นหา |
45. นางสาวอุษา ชีวจำเริญ |
การวิเคราะห์เนื้อหาข่าวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในหนังสือพิมพ์รายวันของไทย |