- Home
- หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
- เอกสารวิชาการ/รายงานเฉพาะบุคคล
- หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 10
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 10
หัวข้อรายงานเฉพาะบุคคล
หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับกลาง
ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (บสก.) รุ่นที่ 10
ชื่อ – สกุล | หัวข้อ |
1. นางสาวกชพร ไพโรจน์ |
พฤติกรรมการรับชม ความต้องการ และความพึงพอใจ ต่อการนำเสนอรายการทีวีท้องถิ่นในจังหวัดสงขลาของสมาชิกเคเบิลทีวี |
2. อาจารย์กฤษดา ทองทับ |
การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ |
3. นายกำธร ฉิมพาลี |
เปรียบเทียบการรับรู้ข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ออนไลน์ ของกลุ่มคนในยุคเบบี้บูมเมอร์ เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย |
4. พ.ต.อ.โฆษิต บุญทวี |
การนำเสนอข่าวในสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองระหว่าง พ.ศ. 2563 – 2564 |
5. นายจรูญ ขจรกิตตินที |
กระบวนการรายงานข่าวผ่านเฟซบุ๊กของสำนักข่าว กรณีศึกษา ไทยรัฐ ไทยพีบีเอส และ The Matter |
6. นายจิตภัทร พุ่มหิรัญ |
สื่อมวลชนกับการละเมิดลิขสิทธิ์ในสื่อออนไลน์ |
7. นางจิรวัส มนตรีวงค์ |
ประเด็น และองค์ประกอบเชิงคุณค่าของข่าวสารองค์กรธุรกิจที่ได้รับความ สนใจจากสื่อมวลชน: กรณีศึกษา บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) |
8. นางสาวชลิดา วรศิลป์ |
การศึกษาผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจอันเป็นผลมาจากการแพร่ระบาดโค วิด-19 ที่มีผลต่อความเป็นอิสระของการนำเสอข่าวของสื่อมวลชน |
9. นางสาวชุติมา จริเกษม |
การศึกษากลยุทธ์การสื่อสาร การจัดการพลาสติกใช้แล้ว ผ่าน YOUเทิร์น PLATFORM |
10. นางสาวฐิติญา เกษกาญจน์ |
ผลกระทบการเผยแพร่ภาพเด็กบนสื่อสังคมออนไลน์ที่ละเมิดสิทธิเด็ก กรณีศึกษา “หนึ่ง จักรวาล” |
11. ผศ.ดร.ณัชชา ศิรินธนาธร |
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารเพื่อการป้องกันพฤติกรรมการกลั่น แกล้งบนโลกออนไลน์ |
12. นางสาวณัฐธิดา ดำรงศักดิ์ |
แนวทางการประชาสัมพันธ์ของแพลตฟอร์ม“สะพานบุญ สะพานใจ” ของมูลนิธิเอสซีจี ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย เจเนอเรชั่น เอ็กซ์ วาย และซี |
13. นายณัฐวุฒิ แสงชูวงษ์ |
การทำธุรกิจไซเบอร์เซ็กส์ของคนรุ่นใหม่ใน OnlyFans |
14. นายดรงค์ ฤทธิปัญญา |
มุมมองกลุ่มคน Gen Y ต่อสื่อผู้จัดการออนไลน์ (MGR online) |
15. ผศ.นพ.ต่อพล วัฒนา |
ผลกระทบจากการเสนอข่าวของสื่อมวลชน ต่อผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลของรัฐ |
16. นายถิรพัฒน์ ณ ลำปาง |
การปรับตัวของคอลัมนิสต์ฟุตบอลจากสื่อสิ่งพิมพ์ สู่แพลตฟอร์มออนไลน์ |
17. นายธนรัตน์ สุกิจจากร |
แนวทางการกำกับดูแลเนื้อหารายการ กรณีการนำเสนอข่าวในสถานพยาบาล |
18. นายธนาพัฒน์ จีรังสุวรรณ |
การยกระดับงานสื่อสารของผู้ให้บริการทางพิเศษให้ตอบสนอง ความคาดหวังของผู้ใช้ทางพิเศษในยุค Internet of Things |
19. ผศ.ธนิต พฤกธรา |
ปัจจัยในการสื่อสารที่มีผลต่อการส่งผลงานประกวดภาพข่าวและข่าวรางวัล มูลนิธิอิศรา อมันตกุล ของสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย |
20. นายธีรภัทร เอื้ออารีวรกุล |
สงครามราคาและความอยู่รอดของผู้ประกอบกิจการเคเบิลทีวีในภาวะ COVID-19 |
21. นายนภัส ธีรดิษฐากุล |
ทัศนคติและความคาดหวังของผู้ชมรายการข่าวเนชั่นทีวี 22 ทางออนไลน์ (Nation Online) |
22. นางสาวนริศรา ด้วงทา |
แนวทางการคัดเลือกประเด็นข่าวและนำเสนอข่าวประเภทดรามาในครอบครัว อย่างสร้างสรรค์ |
23. นางสาวนัฏฐนันท์ เศวตเลข |
แนวทางพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชนภาครัฐ ในการสร้างสื่อวีดิโอดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพ ของสถาบันการประชาสัมพันธ์ |
24. นายประจักษ์ เวชบุญ |
กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของผู้ประกอบการเคเบิลทีวีไทย |
25. นายประวิทย์ คงขวัญรัตน์ |
ความต้องการของผู้สูงวัยต่อเนื้อหารายการที่นำเสนอทางช่องโทรทัศน์ดิจิทัล |
26. นางสาวปัญจพาณ์ จารุจินดา |
การสื่อสารของธนาคารแห่งประเทศไทยประเด็นมาตรการช่วยเหลือทางการเงินช่วงโควิด 19 |
27. นางสาวปิยะวดี ทองบุ |
การรับรู้ ทัศนคติ และการจดจำแบรนด์สินค้าผ่านวิดีโอโฆษณาออนไลน์ สร้างสรรค์สังคมของกลุ่มเป้าหมาย Generation Z ในกลุ่มนักศึกษา |
28. นายพงศ์ทัศ วนิชานันท์ |
บทเรียนจากพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จะสื่อสารอย่างไรให้โรงเรียนรัฐกล้าปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน |
29. นางสาวพัชรินทร์ ภิญโญทรัพย์ |
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อสนับสนุนงานด้านการพัฒนา และสร้างเครือข่ายทาง สังคมของมูลนิธิกระจกเงา |
30. นายพิพัฒน์ พึ่งพาพงศ์ |
ความพึงพอใจและความเชื่อมั่นของสื่อมวลชน ต่อการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร ของสำนักงาน ป.ป.ช. ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต |
31. นายภควัต โฉมศรี |
การเผยแผ่พุทธศาสนาของภิกษุในสื่อยุคใหม่ |
32. นางสาวภัชนันท์ กลิ่นศรีสุข |
บทบาท กสทช. กับการกำกับเนื้อหารายการ ที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) |
33. นางสาวรมย์รัมภา เริ่มรู้ |
ภูมิทัศน์สื่อมวลชนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสู่ บล็อกเชน |
34. นางสาววณิชยา เกษตรเจริญ |
การศึกษาระดับความรู้และรูปแบบการสื่อสารเรื่องการใช้โพรไบโอติกในปศุ สัตว์ที่สร้างความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ปลอดสาร ปลอดยาปฏิชีวนะ |
35. นายวรากฤษณ์ เลิศประเสริฐกุล |
ทัศนคติของผู้ชมรายการข่าวช่องไทยรัฐทีวีในการใช้อิมเมอร์ซีฟกราฟิก |
36. นางสาววรางคณา จันทรัฐ |
การวิเคราะห์การเกิดทัศนคติเชิงลบของประชาชนต่อข่าวปรับขึ้นราคาน้ำมัน ของบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) |
37. นางสาววารุณี ธราดล |
การศึกษาแนวทางการใช้เครื่องมือด้านการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ชมข่าวจากเว็บไซต์และยูทูบขององค์กรสื่อ |
38. นายวีรยุทธ แก้วจินดา |
กลยุทธ์การส่งเสริมรายการของสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท ในยุคดิจิทัล |
39. นายศราวุธ เอี่ยมเซี่ยม |
วิเคราะห์เรตติ้งที่มีผลต่อคุณภาพการนำเสนอข่าวบนแพลตฟอร์มออนไลน์ |
40. นางสาวศศิวิมล ปัญจมาพิรมย์ |
การรับรู้ การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจของสื่อมวลชนต่อช่องทางการสื่อสารวิสัยทัศน์ใหม่ของ ปตท. ในสถานการณ์โควิด 19 |
41. นางสาวศุภรัตน์ ปัณฑะโชติ |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือและ ความคาดหวังต่อรายการข่าวเศรษฐกิจทางสื่อออนไลน์ของผู้บริโภคข่าว |
42. ดร.โศภชา เอี่ยมโอภาส |
การพัฒนาสื่อออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพในยุคนิวนอร์มอล |
43. นางสาวสกุลตรัตน์ พันธุลาภ |
การรับรู้ข่าวประชาสัมพันธ์และความเชื่อมั่นต่อองค์กรที่นำเสนอผ่านสื่อ ออนไลน์ในมุมมองของกลุ่มลูกค้า บมจ. เมืองไทยประกันชีวิต |
44. นายสถาพร สมศักดิ์ |
รูปแบบกระบวนการรณรงค์ศูนย์เรียนรู้การบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืน และครบวงจรฯ กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุพรรณบุรี |
45. อาจารย์สิญาทิพย์ เพี้ยนภักตร์ |
การใช้เสียงในรายการโทรทัศน์เพื่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของคนพิการ ทางการเห็น |
46. นายสิทธิโชติ สุภาวรรณ์ |
อิทธิพลของโปรแกรมสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ต่อการนำเสนอข่าว ออนไลน์ของสื่อมวลชนไทย |
47. นางสาวสิราภรณ์ ชาวหน้าไม้ |
บทบาทของสื่อมวลชนต่อการเผยแพร่ข่าว กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัย |
48. นายสืบสกุล พันธ์ดี |
News content on TikTok การสร้างคอนเทนท์ข่าวเพื่อนำเสนอผ่านแพลตฟอร์ม TikTok |
49. นางสาวสุธิตา หมายเจริญ |
ความคาดหวังของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อต่อกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ |
50. นางสาวสุพรรณี สันติพงษ์ |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าถึงและรับรู้ของคนพิการทางการได้ยินกับเนื้อหา รายการของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสผ่านสื่อดิจิทัล |
51. นางสาวสุพรรษา ลายเมฆ |
การศึกษาปัจจัยในการผลิตข่าวช่องวัน เพื่อรักษาเรตติ้งและจรรยาบรรณการรายงานข่าว |
52. นายสุรชัย ศรีจันทร์ |
การนำเสนอเนื้อหาในรายการข่าวที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล |
53. อาจารย์เสาวลักษณ์ ศรีสุวรรณ |
แนวทางการออกแบบเนื้อหาและอินโฟกราฟิกเพื่อสื่อสารสุขภาพผู้สูงวัย |
54. นางสาวหวานใจ ณ พัทลุง |
การรับรู้บทบาทและความต้องการเปิดรับข่าวสารออนไลน์ ด้านการเงินการลงทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ของกลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่หอการค้าไทยในภูมิภาค |
55. นางเหมือนฝัน คงศรี |
ความต้องการของผู้รับสารที่มีต่อเนื้อหาข่าวและรายการของ ททบ.5 ในการเป็นสื่อบริการสาธารณะเพื่อความมั่นคงของรัฐ |
56. นางอุษา มีชารี |
ความต้องการของผู้รับสารที่มีต่อเนื้อหาข่าวและรายการของ ททบ.5 ในการเป็นสื่อบริการสาธารณะเพื่อความมั่นคงของรัฐ |